การเรียนรวมออนไลน์สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Main Article Content

กนกวรรณ สุหัสโช

บทคัดย่อ

ภายหลังจากการระบาดของโควิด- 19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกทำให้ โรงเรียนจำเป็นต้องปรับรูปแบบการเรียนการสอนจากเดิมคือการสอนตามปกติในห้องเรียนเปลี่ยนแปลงไปสู่การจัดการเรียนรวมออนไลน์ โดยในต่างประเทศได้มีการศึกษาว่าผู้สอนจำเป็นต้องออกแบบรูปแบบการเรียนรวมออนไลน์โดยคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคนิคในการสอน  การมีส่วนร่วมของผู้สอน และความสัมพันธ์ภายในครอบครัว รองลงมาตามลำดับ ในขณะเดียวกันหากเป็นการจัดการเรียนรวมแบบออนไลน์นั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึง โอกาสที่เท่าเทียมกัน ความหลากหลาย การยอมรับความแตกต่าง เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นการเปิดโอกาสและไม่เป็นการกีดกันให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงการศึกษาได้เหมือนเด็กปกติ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กองบรรณาธิการ, T. W. (2565). ‘โรคใหม่’ สร้าง ‘โลกแห่งการเรียนรู้ใหม่’ : อนาคตการศึกษาไทยยุคหลัง COVID-19 สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2565, จาก https://www.eef.or.th/future-of-thai-education-after-covid19/

กิ่งเพชร ส่งเสริม, และ ผดุง อารยะวิญญู (2010). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวม แบบคละชั้นที่มีเด็กที่มีความต้องการพิเศษในโรงเรียนประถมศึกษา

(A DEVELOPMENT OF MULTILEVEL INCLUSIVE EDUCATION FOR STUDENTS WITH SPECIAL NEEDS IN PRIMARY SCHOOLS). Journal of Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences), 2(4), 34-46.

ณัฐฐา นพเก้า, สุทธิพงศ์ บุญ, และ ผดุง อารยะวิญญู (2022). การบริหารจัดการศึกษา สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในโรงเรียนเรียนรวม. รายงานการประชุม Graduate School Conference,

วาทินี อมรไพศาลเลิศ. (2563). เทคนิคการสอนออนไลน์ช่วงโควิด-19

สําหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2565, จากhttps://www.chula.ac.th/news/31541/

ผดุง อารยะวิญญู. (2532). การเรียนร่วมระหว่างเด็กปกติกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. กรุงเทพฯ: รำไพเพรสการพิมพ์.

Anne Meyer, D. H. R., and David Gordon. (2014). Universal design for learning: Theory and practice. MA:CAST Professional Publishing.

Asbury, K., Fox, L., Deniz, E., Code, A., & Toseeb, U. (2021). How is COVID-19 Affecting the Mental Health of Children with Special Educational Needs and Disabilities and Their Families?. Journal of Autism and Developmental Disorders, 51(5), 1772-1780, from https://doi.org/ 10.1007/s10803-020-04577-2

Azoulay, U. (2020, November 11). Global Education Coalition. UNESCO., from https://en.unesco.org/covid19/educationre sponse/globalcoalition

Hardy, I., & Woodcock, S. (2015). Inclusive education policies: discourses of difference, diversity and deficit. International Journal of Inclusive Education, 19(2), 141-164, from https://doi.org/10.1080/ 13603116.2014.908965

Kaewponthong, S., & Yeamsoontron, P. (2021). กระบวนการการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ในช่วงวิกฤติ Covid-19 ของสถาบันการศึกษาระดับ อุดมศึกษาในจังหวัดจันทบุรี. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 8(3), 163-176.

Mseleku, Z. (2020). A literature review of E-learning and E-teaching in the era of Covid-19 pandemic. International Journal of Innovative Science and Research Technology, 5(10), 588-597.

Parmigiani, D., Benigno, V., Giusto, M., Silvaggio, C., & Sperandio, S. (2021). E-inclusion: online special education in Italy during the Covid-19 pandemic. Technology, pedagogy and education, 30(1), 111-124.

Saithong, C. (2017). แนวโน้มการจัดการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านในศตวรรษที่ 21 Learning Management Trends Of Flipped Classroom In 21st Century. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, 4(1).

Smith, S., Burdette, P., Cheatham, G., & Harvey, S. (2016). Parental role and support for online learning for students with disabilities: A paradigm shift. Journal of Special Education Leadership, 92(2), 101-112. 29, 101-112.

Wilkie, K., & Jones, A. (2010). School ties: Keeping students with chronic illness connected to their school learning communities.In New Developments in ICT and Education, Amiens:France.