การพัฒนาแบบจำลองการสอนเพื่อเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน: กรณีศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มวิชาสังคมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ดำเนินการภายใต้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาแบบจำลองการสอนสำหรับเสริมสมรรถนะการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มวิชาสังคมศึกษาโดยใช้การทดลองผ่านกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 16 คน จาก 1 ห้องเรียนที่มีการนำกระบวนการเรียนรู้แบบ MUSE ไปใช้งานจริงใน 1 ปีการศึกษา วิเคราะห์และสรุปผล โดยอาศัยการทดสอบคู่ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยร่วมกับการประมาณค่าผลกระทบด้วยแบบจำลองเศรษฐมิติและการวิเคราะห์ความอ่อนไหว ผลการศึกษาเชิงประจักษ์สะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการเรียนรู้แบบ MUSE สามารถเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ผลการเรียนเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 0.66 จากค่าเฉลี่ยของผลการเรียนเดิม ซึ่งผลการทดลองนี้มีความแม่นยำอยู่ที่ร้อยละ 76.47 และมีค่าความคลาดเคลื่อนจากการทดลองอยู่ที่ร้อยละ 26.67
Article Details
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ซึ่งความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน
References
ชไมมน ศรีสุรักษ์. (2554). การพัฒนาการเรียนการสอนจริยธรรมสำหรับเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ชนิดา ทวีศรี, พีระพล ศิริวงศ์ และ ชาญชัย สุกใส. (2556). การพัฒนาวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเรื่องจำนวนจริงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารบัณฑิตศึกษา, 10(51), 89-96.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(1), 7-19.
ณัฐวัชร จันทรโรธรณ์ และ ไพโรจน์ ญัตติอัครวงศ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 9(1), 336-347.
ถาวร ภูแผลงทอง. (2562). การพัฒนาวิธีการสอนพระปริยัติธรรมตามหลักทศพลญาณ. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 6, 266-278.
ธนโชติ จิรธรรมโม, วีรเดช จะปา, อุเทน ลาพิงค์, ทรงศักดิ์ พรมดี และ โผน นามณี. (2560). แนวทางการพัฒนาวิธีการสอนเชิงบูรณาการสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, 11(1),213-232.
นิวัฒน์ ฐาวิวัฒน์, สุธี วีรบัณฑิต และ กฤษฎา แซ่หลี. (2561). การพัฒนาเทคนิคการสอนของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 1(1), 13-25.
ประจักษ์ ทองดาษ. (2559). การพัฒนาเทคนิคและวิธีการสานพระปริยัติธรรมแผนกบาลี. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 8(2), 101-112.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2554). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ฟแมเนจเม้นท์.
วรัท พฤกษากุลนันท์. (2552). การพัฒนาแบบจำลองเพื่อพัฒนาสมรรถภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
เสาวลักษณ์ ประมาน, ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล และ ธีรนันท์ ตันพนิชย์. (2565). สมรรถนะครูพลศึกษา. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 9(1), 153-164.
อริสา นพคุณ, บรรจบ บุญจันทร์ และ สุวิมล ตั้งประเสริฐ. (2561). การพัฒนาสมรรถนะครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา. วารสารชุมชนวิจัย, 12(3), 232-244.
Angrist, J., Bettinger, E., Bloom, E., King, E., & Kremer, M. (2002). Vouchers for Private Schooling in Colombia: Evidence from a Randomized Natural Experiment. American Economic Review, 92(5), 1535–1558.
Angrist, J. D., & Lavy, V. (1999). Using Maimonides’ Rule to Estimate the Effect of Class Size on Scholastic Achievement. The Quarterly Journal of Economics, 114(2), 533–575.
Dick, W., Carey, L. & Carey, J. O. (1992). The systematic design of Instruction. 6th ed., Boston: Pearson.
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A. G., & Buchner, A. (2007). G* Power 3: A Flexible Statistical Power Analysis Program for The Social, Behavioral, and Biomedical Sciences. Behavior Research Methods, 39(2), 175-191.
Fry, G. W. (2018). Synthesis, rethinking Thai education: Paradoxes, trends, challenges, and opportunities. Education in Thailand. Education in the Asia-Pacific Region: Issues, Concerns and Prospects, Singapore: Springer, 42, 677-709.
Fry, G. W., & Bi, H. (2013). The evolution of educational reform in Thailand: The Thai educational paradox. Journal of educational administration. 51(3), 209-319.
Gagné, R. M., Briggs, L. J. & Wager, W. W. (1992). Principles of Instructional design. (4th ed). Florida: Harcourt Brace Jovanovich.
Jonassen, D. H. (2010). Learning to solve problems. New York: Routledge.
Wittayasin, S. (2017). Education challenges to Thailand 4.0. International Journal of Integrated Education and Development, 2(2), 29-35.