การพัฒนาสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็ว กรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Main Article Content

นิพล สังสุทธิ
วรพงศ์ มาลัยวงษ์
ฐิติมา มั่งมา
สุรยุทธ สุภาพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) การพัฒนาสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็วกรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญต่อสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็ว กรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็ว กรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กระบวนการพัฒนาสื่อของ ADDIE MODEL สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) สื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็วกรณีศึกษานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 83.33/90.00 2) ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญต่อสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็ว อยู่ในระดับมาก และ 3) ความพึงพอใจของครูผู้สอนต่อสื่อเกมคอมพิวเตอร์เพื่อฝึกทักษะคณิตคิดเร็ว อยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

คณิศร จี้กระโทก. (2564). การพัฒนาและผลิตสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

คณิศร จี้กระโทก, จีรนันท์ ล้อดงบัง และ รวี เวธิตะ. (2560). การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เรื่อง งานเกษตรคู่บ้าน กลุ่มวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 3, หน้า 1-7. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

คณิศร จี้กระโทก, ปณวรรต คงธนกุลบวร และ พิศณุ ชัยจิตวณิชกุล. (2566). เกมเพื่อการศึกษาโดยใช้รูปแบบการสอนแสดงบทบาทสมมุติ เรื่อง ผจญภัยไปกับหนูน้อยในภารกิจสำรวจระบบสุริยะ โดยใช้แพลตฟอร์ม Roblox. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 6 (RUSCON6), หน้า 596-603. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา.

ธมกร อินทร์งาม, ณัฐชา ทิพย์วงศ์, ณิชกุล มีรอด, นพรัตน์ สุริโย, เบญจมาศ จงอนุรักษ์, เบญจรัตน์ พุทธรักษา, ปิยวัฒน์ เนียมมาลัย และ กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล. (2564). การออกแบบและพัฒนาสื่อการสอนคณิตศาสตร์เรื่อง การหาปริมาตรรูปเรขาคณิต ด้วยโปรแกรม GeoGebra. วารสารราชภัฏกรุงเก่า สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 3(2), 11-18.

พัฒนา ศิริกุลพิพัฒน์, พงศ์ศิษฎ ไทยสีหราช, อมรมาศ คงธรรม และ พรศรียมก. (2564). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านอุปกรณ์ไร้สายแบบพกพาสำหรับนักศึกษมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, 16(21), 1-17.

ปิยะพงษ์ งันลาโสม. (2564). การพัฒนาบอร์ดเกมเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และเจตคติต่อการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 1(1), 24-40.

สกุล สุขศิริ. (2550). ผลสัมฤทธิ์ของสื่อการเรียนรู้แบบ Game Based Learning. สารนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อนุศร หงส์ขุนทด. (2566) แนวทางการออกแบบการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน (Game-based Teaching). ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2566 จาก http://krukob.com/web/news-81/.