การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ชนิด rt -PA : กรณีศึกษา 2 ราย

ผู้แต่ง

  • นฤมล นามวงษ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลขอนแก่น

คำสำคัญ:

โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน, การพยาบาล, ยาละลายลิ่มเลือด ชนิด rt -PA

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษา มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางให้การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ชนิด rt -PA เป็นการศึกษาเปรียบเทียบกรณีศึกษา 2 ราย ตั้งแต่ระยะวิกฤติ ระยะฟื้นฟูดูแลต่อเนื่อง และระยะวางแผนจำหน่าย รวบรวมข้อมูล โดยใช้แนวคิดการประเมินผู้ป่วยตามแบบแผนสุขภาพ11แบบแผนของกอร์ดอน เพื่อค้นหาปัญหาผู้ป่วย กำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลเพื่อวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล สรุปและประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล

     ผลการศึกษา : การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้เปรียบเทียบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำชนิด rt -PA กรณีศึกษา 2 ราย เป็นผู้ป่วยในเขต อำเภอเมือง นำส่งโดยรถกู้ชีพ เข้าระบบทางด่วน Stroke fast track  เป็นผู้ป่วยระยะวิกฤต ทั้ง 2 ราย เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) โรงพยาบาลขอนแก่น ผู้ป่วยทั้ง 2 ราย เป็นโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิดตีบ ผู้ป่วยรายที่ 1 มีโรคร่วมเบาหวานและความดันโลหิต ผู้ป่วยรายที่2 เป็นผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมสุขภาพสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ผู้ป่วยรายที่ 2 นอนอยู่รักษาจำนวนวันนอนนานกว่ารายที่ 1

References

จิตรา กุสุมภ์ และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต: แบบองค์รวม. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลสหประชาพาณิชย์, 2556). หน้า 311-344.

ทีมสุขภาพโรคหลอดเลือดสมอง. คู่มือระบบดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เครือข่ายจังหวัดขอนแก่น . พิมพ์ ครั้งที่ 1:ขอนแก่น :หจก คลังนานาวิทยา ; 2562.

วิจิตรา กุสุมภ์ และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต: แบบองค์รวม. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล สหประชาพาณิชย์, 2556). หน้า 311-344.

Johnson, W., Onuma, O., Owolabi, M., & Sachdev, S. (2016). Stroke: a global response is needed. Bulletin of the World Health Organization, 94(9), 634–634A.https://doi.org/10.2471/BLT.16.181636

Wright F, Wu S, Chun H-YY, Mead G. Factors Associated with Poststroke Anxiety: A Systematic Review and Meta- Analysis. Stroke Res Treat. 2017;2017:2124743.

สมศักดิ์ เทียมเก่า. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองสำหรับทีมสุขภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 7 . พิมพ์ ครั้งที่ 1 :ขอนแก่น :หจก คลังนานาวิทยา ; 2562. หน้า 3-16

ศิริอร สินธุ. การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ( Nursing care for stroke patients). พิมพ์ ครั้งที่ 1 :สภาการพยาบาล:ยิ้มการพิมพ์; 2565.

สมศักดิ์ เทียมเก่า และคณะ, (2567). การบริบาลผู้ป่วยและระบบบริการโรคหลอดเลือดสมอง เขตสุขภาพที่ 7 พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ คลังนานาวิทยา จังหวัดขอนแก่น

โรงพยาบาลขอนแก่น. (2561). รายงานสถิติผู้ป่วยประจำปี. ขอนแก่น: โรงพยาบาลขอนแก่น.

มรดก หมอกไชย (2567) การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ : รายกรณีศึกษา วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 กค-กย 2567

สลิลทิพย์ คุณาดิศร (2019 ) การศึกษาคุณสมบัติของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เข้าสู่ระบบบริการ Stroke Fast Track แต่ไม่เข้าเกณฑ์การรับยาละลายลิ่มเลือด ณ โรงพยาบาลขอนแก่น . Journal Thai Soc Volume 18 (2):15-28.

สมจิต หนุเจริญกุล. การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองปัจจุบัน (Cerebrovascular Accident หรือStroke). ใน : สมจิต หนุเจริญกุล, บรรณาธิการ. การพยาบาลทางอายุรศาตร์ เล่ม 4. พิมพ์ครั้งที่10 กรุงเทพมหานคร: วี.เจ.พริ้นติ้ง; 2552. หน้า 39-65

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป. กรุงเทพฯ; 2550.

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป. กรุงเทพฯ; 2550.

วรรณา ปัดทพัด (2564). การพยาบาลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ระยะฟื้นูสภาพ : กรณีศึกษา วารสารพยาบาล สภากาชาดไทย ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 กค-ธค 2564.

อดุลย์ วิริยเวชกุล. Acute Stroke Management. ใน นิพนธ์ พวงวรินทร์, บรรณาธิการ. โรคหลอดเลือดสมอง, กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์; 2534. หน้า 451

อรุณี เองยศมาก และวิจิตร กุสุมภ์. ภาวะวิกฤตเกี่ยวกับระบบประสาท (Nervous System Alteration).ใน : วิจิตร กุสุมภ์, บรรณาธิการ. Critical Care Nursing: A Holistic Approch. การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต: แบบองค์รวม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สหประชาพาณิชย์; 2551. หน้า283-312

รัชนี เบญจธนัง และพิพพ์จิตร์ กาญจนสินธุ์. (2557). การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ .พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ บริษัท ลีฟวิ่ง เอ พี. หน้า 93 – 119.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30

How to Cite

นามวงษ์ น. (2023). การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด ชนิด rt -PA : กรณีศึกษา 2 ราย. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษาการแพทย์และสุขภาพ, 8(4), 660–668. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/hej/article/view/269546