ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลปากพนัง
คำสำคัญ:
บริการการแพทย์ฉุกเฉิน, ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง, ช่องทางด่วนโรคหลอดเลือดสมอง, โรคหลอดเลือดสมองบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองมีกลุ่มเปรียบเทียบ (quasi-experimental research) วัดผลโดยการเปรียบเทียบการรับรู้การเข้าถึงระบบการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการส่งเสริมด้วยเครื่องมือ และตัวชี้วัดการใช้ระบบ Stroke Fast Track วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยการทดสอบ t-test และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยการทดสอบ Chi-square test
ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มอาการ Stroke มีความรู้เรื่องอาการสำคัญของ Stroke และขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเกิดอาการมากยิ่งขึ้นหลังได้รับเครื่องมือ พบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) และมีความพึงพอใจต่อการใช้เครื่องมือในระดับดีมาก ส่งผลทำให้มีการตระหนักรู้การเข้าถึงระบบ EMS และสามารถนำไปใช้ได้ในกลุ่มสมาชิกในบ้านให้สามารถเฝ้าระวังและให้การช่วยเหลือเบื้องต้นได้ ประสิทธิภาพของการใช้รูปแบบการเข้าถึงบริการแพทย์ฉุกเฉินพบว่า ผู้ป่วยที่มีอาการ Stroke เข้าถึงบริการ EMS (Stroke Fast Track) ภายในเวลา 180 นาที (100%) นอกจากนี้ ผู้สูงอายุกลุ่มทดลองที่มาด้วยอาการ Stroke คิดเป็น 100% (24/24 ราย) มีการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลโดยมีระยะเวลาทั้งหมดตั้งแต่ผู้ป่วยถึงโรงพยาบาลจนได้รับการส่งต่อใช้เวลาเฉลี่ย 18.04 ±8.01
References
Ghadimi N, Hanifi N, Dinmohammadi M. Factors Affecting Pre-Hospital and In-Hospital Delays in Treatment of Ischemic Stroke; a Prospective Cohort Study. Arch Acad Emerg Med. 2021;9(1):e52.
Afzali F, Jahani Y, Bagheri F, Khajouei R. The impact of the emergency medical services (EMS) automation system on patient care process and user workflow. BMC Med Inform Decis Mak. 2021;21(1):292.
Meyer KA, Decker K, Mervis CA, Louder D, Bradshaw J, DeVader S, et al. Emergency medical services data for cardiovascular disease surveillance, program planning, and evaluation in Maine. Prev Chronic Dis. 2008;5(2):A54.
Su S, Shih CL. Modeling an emergency medical services system using computer simulation. Int J Med Inform. 2003;72(1-3):57-72.
Walderhaug S, Meland PH, Mikalsen M, Sagen T, Brevik JI. Evacuation support system for improved medical documentation and information flow in the field. Int J Med Inform. 2008;77(2):137-51.
Sutham K, Khuwuthyakorn P, Thinnukool O. Thailand medical mobile application for patients triage base on criteria based dispatch protocol. BMC Med Inform Decis Mak. 2020;20(1):66.
Lee EJ, Kim SJ, Bae J, Lee EJ, Kwon OD, Jeong HY, et al. Impact of onset-to-door time on outcomes and factors associated with late hospital arrival in patients with acute ischemic stroke. PLoS One. 2021;16(3):e0247829.
Ortiz AFH, Suriano ES, Eltawil Y, Sekhon M, Gebran A, Garland M, et al. Prevalence and risk factors of unruptured intracranial aneurysms in ischemic stroke patients - A global meta-analysis. Surg Neurol Int. 2023;14:222.
Flint AC, Conell C, Ren X, Banki NM, Chan SL, Rao VA, et al. Effect of Systolic and Diastolic Blood Pressure on Cardiovascular Outcomes. N Engl J Med. 2019;381(3):243-51.
Powers WJ, Rabinstein AA, Ackerson T, Adeoye OM, Bambakidis NC, Becker K, et al. Guidelines for the Early Management of Patients With Acute Ischemic Stroke: 2019 Update to the 2018 Guidelines for the Early Management of Acute Ischemic Stroke: A Guideline for Healthcare Professionals From the American Heart Association/American Stroke Association. Stroke. 2019;50(12):e344-e418.
Madhok DY, Keenan KJ, Cole SB, Martin C, Hemphill JC, 3rd. Prehospital and Emergency Department-Focused Mission Protocol Improves Thrombolysis Metrics for Suspected Acute Stroke Patients. J Stroke Cerebrovasc Dis. 2019;28(12):104423.
Olascoaga Arrate A, Freijo Guerrero MM, Fernandez Maiztegi C, Azkune Calle I, Silvarino Fernandez R, Fernandez Rodriguez M, et al. Use of emergency medical transport and impact on time to care in patients with ischaemic stroke. Neurologia (Engl Ed). 2019;34(2):80-8.
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. สถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพและการแพทย์ฉุกเฉิน (ระดับโลกและประเทศไทย). Retrieved from https://wwwniemsgoth/1/UploadAttachFile/2022/EBook/414764_20220208161448pdf 2565.
Le SM, Copeland LA, Zeber JE, Benge JF, Allen L, Cho J, et al. Factors affecting time between symptom onset and emergency department arrival in stroke patients. eNeurologicalSci. 2020;21:100285.
Tansuwannarat P, Atiksawedparit P, Wibulpolprasert A, Mankasetkit N. Prehospital time of suspected stroke patients treated by emergency medical service: a nationwide study in Thailand. Int J Emerg Med. 2021;14(1):37.
กลุ่มงานเวชระเบียน. รายงานเวชระเบียน โรงพยาบาลปากพนัง ประจำปีงบประมาณ 2566. โรงพยาบาลปากพนัง. 2566.
Yamane T. Statistics: An Introductory Analysis, 2nd ed. Harper and Row: New York, NY, USA. 1967.
บุญน้อม ไกรยา, นิญาพัชญ์ ศิระรัตนาวัฒน์, และยุพาวดี แซ่เตีย. การพัฒนารูปแบบการเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโดยเครือข่าย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารสาธารณสุขมูลฐาน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ). 2566;38(2):52-63.
เบญจมาศ มาสิงบุญ. การพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการ การแพทย์ฉุกเฉินในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. วารสารสุขภาพและสื่งแวดล้อมศึกษา. 2566;8(1):411-22.
รพีภัทร ชํานญเพาะ, หทัยรัตน์ แสงจันทร์, ทิพมาส ชิณวงศ์. ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการ การจัดการอาการและความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2563;40(1):140-53.
นงคราญ ใจเพียร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินและฉุกเฉินเร่งด่วนในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ. 2564;22(1):52-66.
พนิดา พ้องเสียง. การพัมนารูปแบบการเข้าถึงบริการการพแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายอำเภอโพนทอง. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ. 2564;2(1):9-20.
สายฝน เติบสูงเนิน และปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์. ระดับการรับรู้อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อทอง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2560;32(5):482-90.
Hoh BL, Ko NU, Amin-Hanjani S, Chou S-Y, Cruz-Flores S, Dangayach NS, et al. 2023 Guideline for the Management of Patients With Aneurysmal Subarachnoid Hemorrhage: A Guideline From the American Heart Association/American Stroke Association. Stroke. 2023;54(7):e314-e70.
Alkhalifah KM, Al Hunaif AM, Alghamdi BS, Alqhatani RS, Almanea DM, Alshahrani AA, et al. Awareness of Stroke Risk Factors and Warning Signs Among Diabetic Patients in the Aseer Region, Saudi Arabia: A Cross-Sectional Study. Cureus. 2023;15(7):e42562.
สงบ บุญทองโท, นิสากร วิบูลชัย และองุ่น บุตรบ้านเขวา. การพัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลวาปีปทุมและเครือข่ายบริการ. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2560;14(3):100-13.
Kurmi S, Mathews E, Kodali PB, Thankappan KR. Awareness of Stroke Warning Symptoms, Risk Factors, and Response to Acute Stroke in Biswanath District, Assam, India. J Stroke Med. 2020;3(2):88-91.
Drenck N, Viereck S, Baekgaard JS, Christensen KB, Lippert F, Folke F. Pre-hospital management of acute stroke patients eligible for thrombolysis - an evaluation of ambulance on-scene time. Scand J Trauma Resusc Emerg Med. 2019;27(1):3.