ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กรณีศึกษาเขตสำนักงานสาธารณสุข อำเภอเรณูนคร

ผู้แต่ง

  • กนกพร โพชะโน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเรณูนคร

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิต, ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต, ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

บทคัดย่อ

     การวิจัยเชิงสำรวจวิเคราะห์ข้อมูลแบบผสานวิธี เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กรณีศึกษาเขตสำนักงานสาธารณสุข อำเภอเรณูนคร เก็บข้อมูลวิจัยตั้งแต่วันที่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567 กลุ่มตัวอย่างวิจัยเชิงปริมาณคือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจำนวน 10 แห่งในเขตอำเภอเรณูนคร จำนวน 109 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามความเครียด กลุ่มตัวอย่างวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 6 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูล เชิง
     ผลการวิจัย: ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ตัวแปรการรับรู้ความสามารถของตนเอง (B=.393, p-value=.000) ตัวแปรการสนับสนุนทางสังคม (B=.196, p-value=.000) และตัวแปรความเครียด (B=.110, p-value= .049) สามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้ ร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตได้ ได้ร้อยละ 48.3 (R2 = .438) ส่วนผลการวิจัย เชิงคุณภาพ พบว่า การรับรู้ความสามารถ การสนับสนุนทางสังคม ความเครียด ส่งผลต่อการรับรู้คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

References

World Heath Organization. World Heath Statistics 2012 [Internet]. 2012 [cited 2015 July 10]. Available from: https://shorturl.asia/qcnZD

อรวรรณ น้อยวัฒน์. จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช;2555 [เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book55_3/pbhealth.htm

อรนิษฐ์ แสงทองสุข. การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ปทุมธานี และนนทบุรี. กรุงเทพฯ: งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2562; 2563. Report No.: SPU_อรนิษฐ์ แสงทองสุข_T186035_2563.

สุชาดา ทวีสินธิ์, กุลภา วจนสาระ, และ มหาวิทยาลัยมหิดล. “ความเป็นธรรม” และ “ความเป็นไท” ด้านเพศและการเจริญพันธุ์ :ความท้าทายที่ไม่สิ้นสุด. ใน: เขมิกา ยามะรัต, อุมาภรณ์ ภัทราวาณิชย์, มนทกานติ์ เชื่อมชิต, บรรณาธิการ. สุขภาวะทางเพศของผู้สูงอายุในสังคมไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล; 2560. หน้า 191-211. เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/boD29

อภิเชษฐ์ จำเนียรสุข, พิชสุดา เดชบุญ, กฤติเดช มิ่งไม้, ศศิวิมล โพธิ์ภักตร์, สานุรักษ์ โพธิ์หา, สุชานรี พานิชเจริญ. คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังใน อำเภอ สีชมพู จังหวัด ขอนแก่น. วารสารราชพฤกษ์ 2560;15(2):16-26. เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/uIeXb

นันท์ณิชา สิงหเดชวีระชัย. การศึกษาความเครียดและการจัดการความเครียดด้วยกิจกรรมนันทนาการของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านหนองกระทุ่ม อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2562. เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/uIeXb

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม. สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2557. นครพนม: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม (เอกสารอัดสำเนา); 2557.

Faul F, Erdfelder E, Lang A-G, Buchner A. G*Power 3: A flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research Methods 2007;39(2):175-91.

Chanbunlawat K, Chaiyasit Y, Jitchan P. Situational analysis on capacity building among caregivers for the elderly: a case study in Ubon Ratchathani. Science, Engineering and Health Studies. 2021;15:21050005.

Chuanpreecha S, Jarujittipan P. Factors affecting quality of life of old inmates in prisons And Correction establishments in Bangkok. Kasem Bundit Journal [Internet]. 2016 [cited 2024 Feb. 12];17(1):110-26. Available from: https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/58839

Klaodee J, Naksuwan S, Sukmaitree J. Factors affecting the life quality of the elderly in Nakhon Si Thammarat Province. Ratchaphruek Journal 2017;15(1):27-32. (in Thai)

สุนันทา ศรีศิริ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง กรุงเทพมหานคร. วารสารคณะพลศึกษา 2555;15(ฉบับพิเศษ):308-315.

กัญนิกา อยู่สำราญ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2564;7(4):45-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-29