ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้พลังอำนาจและการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
คำสำคัญ:
ญาติผู้ดูแล, โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ, ความผาสุกทางใจ, คุณภาพชีวิตบทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อความผาสุกทางใจและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบศึกษาสองกลุ่มวัดซ้ำ 3 ระยะคือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และหลังการทดลองเสร็จสิ้น 1 เดือนจำนวน 50 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทางวัดช้ำและแบบหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้พลังอำนาจหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และหลังการทดลองเสร็จสิ้น 1 เดือน สูงกว่าผู้ดูแลผู้ป่วยในกลุ่มควบคุม และสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้ดูแลผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้พลังอำนาจหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที ไม่แตกต่างจากหลังการทดลองเสร็จสิ้น 1 เดือน และผู้ดูแลผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยในกลุ่มควบคุม และสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้ดูแลผู้ป่วยในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติการดูแลหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันทีไม่แตกต่างจากหลังการทดลองเสร็จสิ้น 1 เดือน
References
National Cancer Institute.(2017). Types of cancer treatment; 2017. [Cited 2024 May 10]. Available from:https://www.cancer.gov/about-cancer/treatment/types.
World Health Organization.(2j018). Palliative care; 2018. [Cited 2024 May 10]. Available from:http://www.who.int/en/news-room/fact-sheets/detail/palliative-care.
Hileman, J. W.(1992). Identifying the needs of home caregivers of patients with cancer. Oncology Nursing Forum. 19(5):771-77.
วารุณี มีเจริญ.(2559). ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็ง: การปรับตัวต่อบทบาทและการส่งเสริมคุณภาพชีวิต. Rama Nurse J. 20(1):10-22.
Schulz,R., & Beach,S.R.(1999). Caregiving as a risk factor for mortality: The caregiver health effects study. Journal of the American Medical Association. 282(23):2215-19.
Braun,M.,Mikulincer,M., Rydall, A.,Walsh, A., & Rodin, G.(2007). Hidden morbidity in cancer: Spouse caregivers. Journal of Clinical Oncology. 25(30):4829-34.
ศิริรัตน์ คุ้มสิน.(2556). ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้พลังอำนาจและระดับความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
วารุณี มีเจริญ.(2559). ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็ง: การปรับตัวต่อบทบาทและการส่งเสริมคุณภาพชีวิต. Rama Nurse J. 20(1):10-22.
Gibson.(1995). A study of empowerment in mothers if chronically ill children. Doctoral ; 1995.
Gibson, C.H.(1993). A study of empowerment in mothers of chronically ill children. Unpubished doctoral dissertation : Boston Collage, Boston.
ศิริรัตน์ คุ้มสิน.(2556). ประสิทธิผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการรับรู้พลังอำนาจและระดับความเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมจิต หนุเจริญกุล, ประคอง อินทรสมบัติ, และพรรณวดี พุธวัฒนะ.(2532). สิ่งรบกวนในชีวิตประจำวัน ความเข้มแข็งในการมองโลกและการรับรู้ความผาสุกทางในชีวิตของอาจารย์พยาบาลในมหาวิทยาลัย วารสารพยาบาล. 38(3):169-90.
กรมการแพทย์. (2563). คู่มือการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและระยะท้าย (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์). พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
Davis, L.L.(2018). Buliding a science of caring for caregivers. Family and Community Health. 15(1): 1-10.
Victoria Hospice Society.(2019). The Palliative Performance Scale version 2 (PPSv2) tool. Journal of Palliative Care. 9(4):26-32.
สรรสนีย์ จันทร์มา.(2564). ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดและความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะสุดท้าย. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
กิตติยาพร จันทร์ชม, ญาณี แสงสาย, และบรรเทิง พลสวัสดิ์.(2564). การเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในครอบครัวและชุมชน: บทบาทสำคัญของพยาบาล. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์. 5(2):12-24.
พัชราภรณ์ ทะเกียง, อรอุมา อินทนงลักษณ์, ภาคิน บุญพิชาชาญ, อรัญญา นามวงศ์ และจรรยา แก้วใจบุญ.(2567). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจผู้ดูแลผู้ป่วยระยะท้ายต่อคุณภาพชีวิตผู้ดูแลในชุมชน. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 30(3):1-20.