Application of geographic information system in collecting taxes from local administrative organizations

Authors

  • วงศ์พรรณ บุญนวล -
  • วงศ์พรรณ บุญนวล นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • อมรเทพ คล้ายเครือ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • รุ่งเพชร ตันเจริญ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • หนึ่งฤทัย ศรีสุกใส อาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • รสสุคนธ์ ประดิษฐ์ อาจารย์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

Keywords:

Decentralization , Taxation , Geographic information system , Local government

Abstract

          According to the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2540, it is stipulated that power must be decentralized to local administrative organizations. Local administrative organizations have been transferred their missions from government agencies according to the Determining Plans and Procedures for Decentralization of Powers to Local Administrative Organizations Act, B.E. 2542 (1999), for collecting taxes. The collection of taxes is the main source of income for the budget. It is extremely important for local development. In this regard, the authors aimed to convey the changes in the administration of local administrative governments in adopting geographic information systems for tax collection. As a result, revenue collection, tracking, and expediting taxes will be more efficient. The results of the change were positive. Tax collection takes less time to process and more to collect.

References

ชาติ งามจันทร์. (2561). การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลพะงาด อำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา. งานวิจัยหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อวัน 15 กุมภาพันธ์ 2566, เข้าถึงได้จาก http://sutir.sut.ac.th:8080/jspui/bitstream/123456789/8002/2/Fulltext.pdf2566,

ไททัศน์ มาลา, วิไลลักษณ์ เรืองสม และวลัยพร ชิณศรี. (2559). การเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อความเป็นเลิศในด้านการจัดเก็บรายได้. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลอลงกรณ์.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2547). ภารกิจหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า

แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินโดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (LTAX GIS) โปรแกรม แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน (LTAX 3000). (ม.ป.ป. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อวัน 20 กุมภาพันธ์ 2566, เข้าถึงได้จากhttps://www.thalingchan.go.th/datacenter/doc_download/a_071116_112501.pdf.

วรเดช จันทรศร และสมบัติ อยู่เมือง. (2545). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการบริหารภาครัฐ. สมาคมนักวิจัยมหาวิทยาลัยไทย,กรุงเทพมหานคร.

วสันต์ เหลืองประภัสร์. (2557). การคลังท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

สกล ลีโนทัย. (2563). ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.

ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้ สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (มปป.). คู่มือการใช้โปรแกรมแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน (LTAX 3000). กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

อัญชลี การปลูกและวีระกุล ชายผา. (2563). การใช้งานระบบแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อาลัย จันทร์พาณิชย์. (2556). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดทำแผนที่ภาษี. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Published

2023-12-30