ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการกับอัตลักษณ์ของนักเรียนนายร้อยตำรวจ

Main Article Content

เธียรไชย ยักทะวงษ์
พงศ์กุลธร โรจน์วิรุฬห์

บทคัดย่อ

บทความวิชานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การบริหารจัดการกับอัตลักษณ์ของนักเรียนนายร้อยตำรวจ ผลการศึกษา พบว่า โรงเรียนนายร้อยตำรวจ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางด้านวิชาชีพตำรวจ ที่กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2560 - 2564 ซึ่งเน้นการพัฒนาอัตลักษณ์ของนักเรียนนายร้อยตำรวจ 3 ด้าน ได้แก่ การสร้างคนเก่ง การสร้างคนดี และการสร้างความสุข โดยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการโรงเรียนนายร้อยตำรวจที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอัตลักษณ์ทั้ง 3 ด้านนั้น ใช้กรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ 7 ด้าน ได้แก่ ด้านโครงสร้างหน้าที่รับผิดชอบ ด้านกลยุทธ์ ด้านระบบการบริหารจัดการ ด้านบุคลากรของโรงเรียน ด้านทักษะการสอน ด้านรูปแบบการเรียนการสอนและด้านค่านิยมร่วม

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิชาการ

References

กรรณิกา กุกุดเรือ. (2559). คุณลักษณะผู้นำของนักเรียนนายร้อยตำรวจ. (รายงานการวิจัย). นครปฐม: โรงเรียนนายร้อยตำรวจ.
กองบังคับการวิชาการ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ. (2551). เอกสารกองบังคับการวิชาการ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ. เข้าถึงได้จาก http://www.rpca.ac.th/
กิจพิณิฐ อุสาโห. (2555). เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ รอบ 3 (พ.ศ. 2554-2558). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการศึกษา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.
เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม. (2556). SME Think Tank: Mckinsey 7 S. เข้าถึงได้จาก http://marketeer .co.th/archives/14078
ณัฐรดี ชมภูวิเศษ (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา). คณะครุศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
บุญทัน พันธ์จันทร์. (2555). ความสุขของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนในตำรวจภูธรภาค 1. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). คณะรัฐประศาสนศาสตร์: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปรีชา คุวินทร์พันธ์ุ (2551). อัตลักษณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. วารสารกระแสอาคเนย์, 5(55): 8-37.
ปิยะ อุทาโย. (2560). คำสั่งโรงเรียนนายร้อยตำรวจที่ 141/2560 เรื่องให้ใช้แผนพัฒนาโรงเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ. 2560-2564 (ฉบับปรับปรุง). เข้าถึงได้จาก http://www.rpca.ac.th/
มณีรัตน์ สุพร. (2554). กรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ (McKinsey 7-S Framework). เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/461173
มีชัย สีเจริญ และคณะ. (2559). กลยุทธ์การบริหารจัดการการศึกษาและฝึกอบรมนักเรียนนายร้อยตำรวจ มุ่งสู่ความเป็นวิชาชีพตำรวจในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2560-2569). (รายงานการวิจัย). นครปฐม: โรงเรียนนายร้อยตำรวจ.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.
โรงเรียนนายร้อยตำรวจ. (2560). รายงานประจำปี. เข้าถึงได้จาก http://www.rpca.ac.th/
ศิขรา ศิริสาร (2556). กระบวนการปฏิสัมพันธ์และการสร้างอัตลักษณ์ร่วมในแฟนเพจเฟซบุ๊ก: ศึกษากรณีแฟนเพจฮิปคิงดอม. วารสารวิทยบริการ, 24(3), 1-17.
สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม. (2554). อัตลักษณ์นิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. (ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). คณะครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อำนาจ วัดจินดา. (2553). The Mind of Strategy: หัวใจของการจัดการกลยุทธ์. เข้าถึงได้จาก http://themindofstrategy. blogspot.com/2010/09/007-in-search-of-excellence.html