A Synthesis of Researches on Buddhist tourism
A Synthesis of Researches on Buddhist tourism
Keywords:
Buddhist tourism, Documentary Research, Domain analysisAbstract
บทความนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาข้อสรุปจากการสังเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงพุทธ หลักเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย คือ บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารไทยออนไลน์ (Thaijo) และเผยแพร่ภายใน 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2563 มีผลงานวิจัยตามหลักเกณฑ์จำนวน 10 เรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์โดเมนร่วมกับการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ผลการศึกษาพบว่า การท่องเที่ยวเชิงพุทธมี 6 องค์ประกอบ คือ การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน / สิ่งอำนวยความสะดวก / สิ่งแวดล้อม / ความสะอาดและปลอดภัย การสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น การสร้างเครือข่ายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนา ของผลิตภัณฑ์ บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยวส่งเสริมให้วัดมีกิจกรรมและประเพณีสำคัญทางพระพุทธศาสนาตลอดทั้งปีและจัดหาสิ่งของพื้นบ้านในชุมชนจัดแสดงพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมและศาสนา การท่องเที่ยวเชิงพุทธจึงเป็นองค์ประกอบย่อยของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ การท่องเที่ยวเชิงพุทธมีความสัมพันธ์กับ 7 ปัจจัย ได้แก่ กิจกรรมนมัสการพระพุทธรูป กิจกรรมปฏิบัติธรรม นันทนาการ กิจกรรมบูชาวัตถุมงคล กิจกรรมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมที่พึ่งทางใจ และกิจกรรมเข้าร่วมพิธีกรรม การท่องเที่ยวเชิงพุทธเป็นองค์ประกอบย่อยของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ การท่องเที่ยวเชิงพุทธมีความสัมพันธ์กับ 7 ปัจจัย ได้แก่ กิจกรรมนมัสการพระพุทธรูป กิจกรรมปฏิบัติธรรม นันทนาการ กิจกรรมบูชาวัตถุมงคล กิจกรรมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมที่พึ่งทางใจ และกิจกรรมเข้าร่วมพิธีกรรม การท่องเที่ยวเชิงพุทธเป็นองค์ประกอบย่อยของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ การท่องเที่ยวเชิงพุทธมีความสัมพันธ์กับ 7 ปัจจัย ได้แก่ กิจกรรมนมัสการพระพุทธรูป กิจกรรมปฏิบัติธรรม นันทนาการ กิจกรรมบูชาวัตถุมงคล กิจกรรมเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมที่พึ่งทางใจ และกิจกรรมเข้าร่วมพิธีกรรม
References
กรมการท่องเที่ยว. (2561). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ. 2561–2564. กรุงเทพมหานคร : วีไอพี ก็อปปี้ปริ้น.
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2557). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557. กรุงเทพมหานคร : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม.
กรรณิกา คําดี. (2558). วัดและศาสนสถานในมิติของการท่องเที่ยว. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 4 (2) : 175-191.
กัตติกา ธนะขว้าง จิราพร เกศพิชญวัฒนา และชนกพร จิตปัญญา. (2553). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ : การวิเคราะห์อภิมาน. Journal of Nurse Science. 28 (3) : 63.
จุฑาภรณ์ หินซุย และสถาพร มงคลศรีสวัสดิ์. (2557). แนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพุทธ กรณีศึกษาวัดประชาคมวนาราม อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 10 (1) : 50-58.
ดวงรัตน์ โกยกิจเจริญ. (2562). พฤติกรรมการท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวเชิงศาสนาของนักท่องเที่ยวไทยในจังหวัดภูเก็ต. วารสารปัญญา. 26 (1) : 76-85.
ธนกฤต สังข์เฉย. (2550). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี.
ธนิต บุตรทิพย์สกุล. (2558). พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาของนักท่องเที่ยววัดในจังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพวรรณ วิเศษสินธุ์ นงเยาว์ อุทุมพร ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ และธีรพงษ์ บุญรักษา. (2561). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงพุทธแบบยั่งยืนจังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 12 (1) : 70-83.
นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์, รองศาสตราจารย์ และคณะ. (2553). ศึกษาศาสนสถานที่สำคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเที่ยวของวัดในกรุงเทพมหานคร. (รายงานผลการวิจัย). สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประวิทย์ เฮงพระธานี และโสวิทย์ บำรุงภักดิ์. (2562). การจัดการท่องเที่ยวเชิงพุทธของวัดในจังหวัดขอนแก่น. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น. 6 (3) : 350-362.
ปรีดา ไชยา. (2558). การท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัดสกลนคร. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. 8 (พิเศษ) : 223-241.
พระครูสังฆรักษ์วุฒิพงษ์ วุฑฺฒิวํโส อินถา ศิริวรรณ สิน งามประโคน และวีระ สุภะ. (2561). การพัฒนาวัดในประเทศไทยเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงพุทธ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอาเซียน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์. 6 (4) : 1594-1606.
พระชยานันทมุนี วรปรัชญ์ คําพงษ์ พระครูฉันทเจติยานุกิจ พระปลัดนฤดล กิตติภทฺโท และอรพินท์ อินวงค์. (2562). ความสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดและชุมชนในล้านนา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์. 7 (2) : 315-331.
วงศ์ธีรา สุวรรณิน และคณะ. (2557). การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดในจังหวัดปทุมธานี. รายงานผลการวิจัย. ปทุมธานี : วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
วนิดา ขำเขียว. (2562). การท่องเที่ยวเชิงแสวงบุญทางพระพุทธศาสนา อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 11 (21) : 123-134.
วรลักษณ์ ชูกำเนิด, เอกรินทร์ สังข์ทอง และชวลิต เกิดทรัพย์. (2557). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บริบทโรงเรียนในประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. –(12) : 126.
วิชาญ เลี่ยวเส็ง, พระมหา. (2544). พุทธศิลป์กับการท่องเที่ยว : ศึกษาบทบาทของวัดในการอนุรักษ์พุทธศิลป์เพื่อการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุทิตย์ อาภากโร, พระมหา. (2553). รูปแบบการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวประเภทวัดในกรุงเทพมหานคร. รายงานผลการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุทิตย์ อาภากโร และคณะ, พระมหา. (2555). การพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดการท่องเที่ยวทางพุทธศาสนาในประเทศไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุรศักดิ์ ศิลาวรรณา. (2550). การท่องเที่ยวและการเผยแพร่พระพุทธศาสนา บทบาทของวัดในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาวัดบวรนิเวศวิหาร และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุริยา มะสันเทียะ, พระมหา. (2563). กลยุทธ์ที่ส่งเสริมคุณค่าการท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาในเกาะรัตนโกสินทร์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 14 (1) : 42-54.
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 17 (1) : 17-29.
Onwuegbuzie, Leech, and Collins. (2012). Qualitative Analysis Techniques for the Review of the Literature. The Qualitative Report. 17 (56) : 17-20.
UNWTO. (1997). Tourism 2020 Vision. Madrid : UNWTO. <http://www.research-system.siam.edu/images/coop/pdf> (สืบค้นข้อมูลเมื่อ 7 เมษายน 2563) <https://tourismatbuu.wordpress.com/> (สืบค้นข้อมูลเมื่อ 7 เมษายน 2563) (<http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/> (สืบค้นข้อมูลเมื่อ 5 สิงหาคม 2564).
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 Mahamakut Buddhist University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว