Model of Primary School teacher Spirituality Development in Chachoengsao Province to Develop Student Quality under Learning Process of Thailand 4.0

Authors

  • Kanporn Aiemphaya Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University
  • Pojanee Mangkang Faculty of Education, Rajabhat Rajanagarindra University

Keywords:

model of primary school teacher spirituality development, development of student quality, learning process of Thailand 4.0.

Abstract

The purpose of this research was to 1) study the model of primary school teacher spirituality development in Chachoengsao Province development of Thailand 4.0 2) develop the model of primary school teacher spirituality development in Chachoengsao Province develop student quality under the learning process of Thailand 4.0. The sample was the honored teachers of every school in Chachoengsao province, academic year 2015- 2018 was obtained by random sampling according to the Crazy and Morgan tables. The samples were 66 persons, as follows under the Office of Chachoengsao Primary Educational Service Area 1, 12 persons, Chachoengsao Educational Service Area 2, 13 persons, municipalities in Chachoengsao province 12 persons, Chachoengsao provincial administrative organization 15 persons, and Chachoengsao Provincial Education Office 14 persons, used to collect data such as questionnaires and group discussions. The statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation.

The findings revealed as follows: 1) The model of spiritual development of primary school teachers in Chachoengsao province in order to improve the quality of learners according to the learning process of Thailand 4.0, in general, the average was at a high level, the order is training workshop Having the highest mean value at the highest level. Followed by Teaching demonstration and coaching & monitoring were at a high level. 2) The development of a model for the spiritual development of primary school teachers in Chachoengsao province in order to improve the quality of learners according to the learning process of Thailand 4.0, use workshops It consists of reporting the results, methods and training methods, and tools to assess the spirit of teachers and colleagues.

References

กรวัฒน์ ตันเจริญ. (2555). แนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์. (2560).การวิจัยและพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. 13(1) : 1-24.

กัญภร เอี่ยมพญา และ นิวัตต์ น้อยมณี. (2559). การพัฒนาจิตวิญญาณครูของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 ตามโครงการพัฒนาครูแบบต่อยอดและเชื่อมโยง. รายงานวิจัย.

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. (2560). โครงการการพัฒนาจิตวิญญาณครูในศตวรรษที่ 21. เอกสารสำนักงาน.

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2557). การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2560. จาก http://www.okmd.or.th/upload/pdf/chapter1_kc.pdf.

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2555). สรุปการประเมินผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องทางเลือกใหม่เทคนิคการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) และการจัดการเรียนรู้และการวัด และประเมินผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF). เอกสาร
ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ. วันที่ 23-24 เมษายน 2555 ณ ห้องทิพย์พิมาน โรงแรม Chiangmai Grandview อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

ทวน เที่ยงเจริญ ศักดา สถาพรวจนา และ วีรภัทร ภัทรกุล. (2563). การพัฒนาระบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อความเป็นเลิศของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วารสารสิรินธรปริทรรศน์. 21(1) : 1-15.

นิวัตต์ น้อยมณี และ กัญภร เอี่ยมพญา. (2560). จิตวิญญาณครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: 21 เซนจูรี่.

บริษัท เอ็ดเทค ครีเอชั่น จำกัด. (2560). จัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการจัดกิจกรรมและการใช้สื่อเพื่อสร้างเด็ก 2 ภาษาในระดับปฐมวัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2561.จาก. http://www.edtechcreation.com/th/products /120075.

ประคอง รัศมีแก้ว. (2563). ศึกษาการพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารสิรินธรปริทรรศน์. 21(2) : 361-377.

ประเสริฐ เรือนนะการ และ ฐิติยา เรือนนะการ. (2561). การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยของครูโรงเรียนกระบากวิทยาคาร จังหวัดมหาสารคาม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 12(3) : 295-308.

เปรื่อง จันดา. (2549). การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษาสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดเพชรบูรณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ผกาวรรณ ศิริสานต์. (2552). ศึกษาความต้องการในการพัฒนาตนเองของครูประถมศึกษาโรงเรียนไผทอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พรชัย เจดามาน, เผชิญ กิจระการ, ไพรฑูรย์ พิมพ์ดี, กลวัชร วังสะอาด, อัครพงศ์ สุขมาตร์ และ เจริญ สุขทรัพย์. (2559). การพัฒนาการศึกษาภายใต้กรอบประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2560. จาก. http://oknation.nationtv.tv/blog/jedaman/ 2016/12/31/entry-1.

พัชนี กุลฑานันท์ พิสิฐ เมธาภัทร ไพโรจน์ สถิรยากร และมนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรม ครูแบบผสมผสานในการทำวิจัยในชั้นเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม; ว.มรม. 5(2) : 97-115.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และนักรบ หมี้แสน. (2560). ครุศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2557). กิจกรรมโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2560. จาก.
https://www.rmutp.ac.th/%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8A/.

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2559). โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ. เอกสารสำนักงาน.

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. (2554). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2557 – 2561). เอกสารสำนักงาน.

สุวัฒน์ กอไพศาล และคณะ. (2552). ปัญหาการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในสถานศึกษา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2561. จาก. https://www.gotoknow.org/posts/256382.

ราชกิจจานุเบกษา. (2550). ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2550. เล่ม 125 ตอนพิเศษ 51 ง. วันที่ 27 เมษายน 2550.

รัชนี อมาตยกุล. (2556). ปัญหาการศึกษา ปัญหาของครู คุณภาพของครู. เอกสารสำนักงาน โรงเรียนอมาตยกุล.

รัตนะ บัวสนธ์. (2552). วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ. (2554) รายงานสรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปฏิบัติการเพื่อสร้างนวัตกรรมแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษารูปแบบใหม่. เอกสารประกอบ การสัมมนา. วันที่ 24-27 กรกฎาคม 2554 ณ โรงแรมสวนดุสิตเพลส กรุงเทพมหานคร.

วสันต์ ปานทอง, อนุชา กอนพ่วง, ภานุวัฒน์ ภักดีวงศ์ และ ฉันทนา จันทร์บรรจง. (2556). รูปแบบการพัฒนาเพื่อศิษย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 15 (ฉบับพิเศษ) : 193-205.

สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา. (2554). หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ. เอกสารสำนักงาน. สถาบันพัฒนาครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. (2558). โครงการพัฒนาครูผู้ช่วย ระยะที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะอย่างเข้ม ปีงบประมาณ 2558. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2561. จาก http://krabiedu.net/index.php?name=news&file=readnews&id=694.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 .(2557). โครงการพัฒนาจิตวิญญาณครูของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 ตามโครงการพัฒนาครูแบบต่อยอดและเชื่อมโยงต่อเนื่อง. เอกสารสำนักงาน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี แถลงต่อสภานิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สุกัญญา วีระจันทร์ วรวรรณ อุบลเลิศ และสุทัศน์ แก้วคำ. (2558). การพัฒนาครูด้านการทำวิจัยในชั้นเรียนโรงเรียนชุมชนกุงเก่าราษฎร์ประสิทธิ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 12(58) : 175-183.

สุพรรณี อาวรณ์ และ แก้วเวียง นำนาผล. (2557). การพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ด้านการคิดวิเคราะห์ โรงเรียนผาน้ำทิพย์วิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์. 9(2) : 71-80.

อรชร ปราจันทร์ และ สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม 4 ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา. 1(2) : 53-70.

Best, J. and Kahn, J. V. (1993). Research in Education. 7th ed. Boston: Allyn and Bacon. arch-Based Principles for Smart Teaching (1st ed.). USA: Jossey-Bass Publishing Ltd.

Downloads

Published

2021-08-16