A Studycharacters Ofinscribed Letters on Pālimanuscripts Usingsinghalese Burmese Dhamma-Lanna And Khom
ศึกษารูปแบบอักษรจารึกในคัมภีร์บาลีใบลาน อักษรสิงหล พม่า ธรรมล้านนา และขอม
Keywords:
คัมภีร์บาลีใบลาน, พระไตรปิฎกบาลี, อักษรจารึก, สายอักษรAbstract
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความเป็นมาและคุณลักษณะของคัมภีร์บาลีใบลานอักษรสิงหล พม่า ธรรมล้านนาและขอม 2) เพื่อศึกษารูปแบบของอักษรจารึกคัมภีร์บาลีใบลาน อักษรสิงหล พม่า ธรรมล้านนาและขอม 3) เพื่อเสนออักษรคู่เหมือนของอักษรจารึกบาลีใบลานอักษรสิงหล พม่า ธรรมล้านนา และขอม เพื่อแก้ปัญหาความสับสนในการปริวรรต การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลปฐมภูมิที่เป็นคัมภีร์พระไตรปิฎกบาลีใบลานพระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค 4 สายอักษร จำนวน 16 ฉบับ ที่มีอายุระหว่าง 200-400 ปี
ผลการวิจัยพบว่า
1) คัมภีร์บาลีใบลานมีความเป็นมาที่หลากหลายตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศนั้น ๆ จารขึ้นเพื่อการฟื้นฟู ทำนุบำรุง เผยแผ่และรักษาคำสอนของพระพุทธศาสนา รวมทั้งมีคุณลักษณะทางกายภาพ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของแต่ละสายอักษร เช่น ลักษณะการใช้ผ้าห่อคัมภีร์ ลวดลายบนไม้ประกับ ขนาดของหน้าลาน จำนวนบรรทัดในการจารอักษร ลำดับเลขอังกาเครื่องหมายต่าง ๆ เป็นต้น
2) อักษรจำใบลานบาลีมี 8 ตัว กล้ามเนื้อ สระ และสระ สระ สระ สระ เหรื่อ เครื่อ ร สระทั้ง 4 สาย เชื่อ สปาตัวที่ตัวไม่เบี้ยว ผ่อนคลาย เคร่งครัดมีเคร่งครัด... ตัวตัวและตัวพยัญญ์ชนะต้นอักษรสะกดพยัญชนะบางต้นเมื่อสวดมนต์แล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิมจากเดิมปลุกเลียนแบบเลียนแบบกับอักษรอักษรขอ ศรัทธา พยัญชนะตามในอักษรอุ... ม สุด ๆ ปัญญาเยียดคือเขียนด้วยพยัญชนะตัวสะกดโดยที่อักษรขอใช้พยัญป... เปลี่ยนรูป พยัญชนะเป็นพยัญชนะ ตัวเข้ารหัสตัวเข้ารหัส สิงหลไม่มีพยัญชนะตัวเชิงเ...
3) เขียงตัวอักษร และเหมือนของอักษร บารัคชัคลีใบลานอัษฐ์หล พม่า อารยธรรม ธรรมนิร...ปริ๊นปริวรรต อัฏฐ์ อัฏฐ์ คล้ายที่เฉลือ ปริวรรย์ สัปเหร่อหลล่าว ท่อง 4 สายอักษร ... นักประดิษฐ์ 91 แฝดคู่ที่ซ้ำกันครั้งเเรก สายอัฏฐ์ 6 และสายอัฏฐ์อัฏฐ์อัฏอัฏอัฏระมหาศาลกับสายอัฏฐ์ครบทั้ง 6 จากเรี... ลานเอนกประสงค์ใช้คัมภีร์บาลีใบลานมากกว่า 2 สายปัญญาชี้เฉื่อย ท้าทายของปัญญาคู่ เหมือนสามารถต่อรองได้คำเฉื่อย ...
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตปาลิ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2541). มหาวํโส (ทุติโย ภาโค). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2540). มหาวํโส (ปฐโม ภาโค). กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์วิญญาณ.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2536). พระสูตรและอรรถกถาแปล เล่มที่ 43 ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่มที่ 1 ภาคที่ 2 ตอนที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2544). บาลีไวยากรณ์ อักขรวิธี ภาคที่ 1 สมัญญาภิธานและสนธิ. พิมพ์ครั้งที่ 38. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระพุทธโฆสาจารย์. (2502). ญาโณทยปกรณ์ ฉบับงานสมโภชสุพรรณบัฏ สมเด็จพระพุฒาจารย์ อุปเสณมหาเถระ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การรถไฟ.
Jong J.W. de. (1987). A Brief History of Buddhist Studies in Europe and America. 2nd Edition. Delhi: Sri Satguru Publications.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 Mahamakut Buddhist University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว