Ethical Leadership Of School Administrators As Teacher’opinions Under Kanchanaburi Educational Service Area Office 3
Keywords:
ethical leadership, administratorsAbstract
This research aimed to study and compare ethical leadership of school administrators as teachers’ opinions under Kanchnaburi educational service area office 3 classified by work experience and educational institution size.
The samples consisted of 286 teacher civil servant under Kanchanaburi educational service area office 3 obtained by work experience and educational institution size. The research instrument was a five-level rating scale questionnaire with content validity 1.00 and a reliability of 0.99. The statistics used in to the data analysis were percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance and test the pairwise mean difference by Scheffe's method with a statistical significance level at 0.05.
The findings were as follows: The ethical leadership of school administrators as teachers’ opinions under Kanchanaburi educational service area office 3, was overall and in each individual aspect were a high level, ranking in the order of mean from high to low as justice, trust, aspect of empathy, and honesty.The ethical leadership of school administrators as teachers’ opinions under Kanchanaburi educational service area office 3 classified by work experience, overall there was no statistically significant difference. The ethical leadership of school administrators as teachers’ opinions under Kanchanaburi educational service area office 3 classified by educational institution size, overall , there was no statistically significant difference. When considering in each individual aspect were trust. There was a statistically significant difference. That is, teachers in small educational institutions have less opinions than teachers in medium and large educational institutions.
References
ชัชวาล แก้วกระจาย และวิชิต แสงสว่าง. (2564). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษา สังกัดศึกษาธิการจังหวัดลพบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(3), 54-67.
ณัฐยา สีหะวงษ์ (2561). ความสัมพันธ์พหุระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัย บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(2), 53-62.
ดวงฤดี ศิริพันธุ์. (2561, กรกฎาคม). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา. เอกสารเสนอต่อที่ประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9, สงขลา.
ดวงใจ บุญหล้า. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาวะผู้นำกับความมีประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธีรพัฒน์ เพชรศรีจันทร. (2562). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครูโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐในจังหวัดอุทัยธานี. Journal of MCU Nakhondhat, 6(5), 2233-2250.
นพรัตน์ อิสระณรงค์พันธ์. (2565). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2. (การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.
นิ่มนภา อ่อนพุทธา. (2564). ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายที่ 47 สังกัดสำนักงานเขตสวนหลวงกรุงเทพมหานคร. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร, 18(83), 36-44.
ผ่องศรี พรมวิชัย. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจของครูในการปฏิบัติงานในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 14(2),147-178.
เพ็ญศิริ สมเรือน (2560). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มนตรี.
รัตนา กาญจนพันธุ์. (2560). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหาร. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. 7(3), 18-24.
วันเฉลิม รูปสูง. (2564). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 22(1), 37-50.
สฤษดิ์ แสงรัตน์. (2566). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 3(1), 23-38.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3. (2566). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต เขต 3. กาญจนบุรี: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2565). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. ค้นจาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/law/act_law2551
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). การศึกษาไทยในโลกศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สำเนียง ยอดคีรี. (2560). จริยศาสตร์, จริยธรรม และคุณธรรม ตามแนวความคิดของนักปรัชญา. วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 22(2), 37-53.
สุภาพ ฤทธิ์บำรุง. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรัตน์ ไชยชมภู. (2557). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการบริหารสถานศึกษา. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 8(2), 1-15.
สุวิมล โตปิ่นใจ. (2556). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มบางบ่อ 2 อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. (งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
Brown, M. E., Treviño, L. K., & Harrison, D. (2005). Ethical leadership: A social learning perspective for construct development and testing. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 97(2), 117−134.
Best, J. W. (1981). Research in education. (4 th ed). New Jersey: Prentice Hall.
Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3): 297-334.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3): 607-610.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Mahamakut Buddhist University

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว