แนวทางการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
คำสำคัญ:
การบริหารสภาพแวดล้อม, การจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 1 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 1 3) เสนอแนวทางการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
ผลการวิจัยพบว่า สภาพการดำเนินงานปัจจุบันในการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ โดยภาพรวมพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=3.32, S.D.=1.03) สภาพการดำเนินงานที่พึงประสงค์ในการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ โดยภาพรวมพบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄=4.54, S.D.= 0.86) ผลการวิเคราะห์การจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็นมากที่สุดในการบริหารสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในภาวะปกติใหม่ ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติใหม่ คือ พื้นที่สำหรับพักคอยนักเรียนที่ตรวจพบเชื้อโควิด-19 2) ด้านวิชาการ คือ มีแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP 3) ด้านบริหารจัดการ มีการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ กับรายวิชาต่างๆ 4) ด้านกายภาพ คือ มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมกับผู้เรียน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). การเตรียมความพร้อมของกระทรวงศึกษาธิการก่อนเปิดภาคเรียน. [ออนไลน์].
สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2565. จาก https://moe360.blog/2020/05/08
สุรศักดิ์ อรรถจินดา. (2563). การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั่วไป และภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. (2563). ข้อมูลสถานศึกษาในสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. เรียน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2565. จาก http://samutprakan1.go.th
อารียา สตารัตน์. (2556) การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เก็จกนก เอื้อวงศ์, ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, นงเยาว์ อุทุมพร, กุลชลี จงเจริญ และฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์. (2564). รูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19. รายงานการศึกษา. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). แนวทางการเตรียมการเปิดภาค
เรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19). เรียน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2565. จาก www.surat2. go.th/2021/ files/com_news_manual/2021-11_9623ae 02626d5cf.pdf
วลัยลักษณ์ พันธุรี. (2556). การพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) สำหรับนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) ระดับชั้นประถมศึกษา. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 8 (22) : 135-149.
สมาน ศรีเครือ (2550). การนิเทศเพื่อพัฒนาบุคลากร. การค้นคว้าอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาบริหารการศึกษา. บัณฑฺตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560). การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน. บทความมนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 10 (2) : 1352.
กาญจนา แกแจ่ม. (2553). การใช้แหล่งเรียนรู้ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านยอดดอยวิทยาอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. เชียงใหม่: สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
Seager, Paul W. (1961). Proposed School Building Code for Thailand. Indiana: Indiana University.
อมรพงศ์ พันธ์โภชน์. (2558). การบริหารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของกลุ่มลำภู. วารสารหา
วิทยาลัยนราธิวาราชนครรินทร์. 2 (1) : 35
Marsden, Dale Brendt. (2006). Relations Between Teacher Perceptions of Safe and Orderly Environment and Student Achievement Among Ten Better-performing,High-poverty Schools in One Southern California Elementary School District. Dissertation Abstracts International. 67 (1) : 116 - A.
Davies, D. (2013). Creative learningenvironments in education-A systematic Literature review.
Thinking Skills and Creativity, 8. 80-91.
ชวนพ ชีวรัศมี. (2557). การออกแบบระบบป้ายสัญลักษณ์เพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวงกับชาวต่างชาติโดยอาศัยทฤษฎีการเชื่อมโยงมโนภาพ. สถาบันวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว