ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
คำสำคัญ:
ผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา, การบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรมบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบงานโรงเรียนคุณธรรมในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 จำนวน 307 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 คือ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตัดสินใจอย่างมีจริยธรรม ด้านความเป็นแบบอย่างที่ดี ด้านความซื่อสัตย์ สามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารจัดการโรงเรียนคุณธรรมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 โดยรวมได้ร้อยละ 60.90 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01
References
กมลทิพย์ ทองกำแหง และปองสิน วิเศษศิริ. (2550). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมสำหรับผู้บริหารโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กาญจน์ เรืองมนตรี. (2549). องค์ประกอบภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามแนวปฏิรูปการศึกษา กรณีศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
กรมการศาสนา. (2554). การอบรมคุณธรรมตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: กองทุนส่งเสริม การเผยแผ่พระพุทธศาสนาฯ.
ทิศนา แขมมณี. (2556). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. ใน คุณธรรมและ จริยธรรมไม่มีขาย สังคมจะมีได้ต้องช่วยกัน. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจาบุเบกษา.
ธีระ รุญเจริญ. (2553). ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพในการจัดการและบริหารการศึกษา ในยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.
นิคม นาคอ้าย. (2550). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม (Ethical Leadership). วารสารวิชาการการบริหารการศึกษา มศว. 4,8.
นิคม นาคอ้าย. (2550). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมแนวคิดในโลกตะวันตก. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปภัสวดี วีรกิตติ และคณะ. (2558). คู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม. นนทบุรี: บริษัทสหมิตร พริ้นติ้ง แอนด์พับลิซซึ่ง จำกัด.
ประชุม โพธิกุล. (2550). ความกล้าทางจริยธรรมของผู้นำทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
ปรีชา ทัศน์ละไม. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนและประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1-3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
พระครูสังฆรักษ์จรัญ จุ่นดีวงษ์. (2552). พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการวิถีพุทธ สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต 2.” วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา พัฒนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระมหาเทพอาทิตย์ กิตฺติญาโณ. (2550). การศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนวิถีพุทธ ของพระภิกษุตามการรับรู้ของเจ้าอาวาสจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอยุธยา เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ภานุพงษ์ ธนูสาร. (2555). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงคุณธรรม จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 สุโขทัย-ตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ภารดี อนันต์ราวี. (2551). หลักการแนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ชลบุรี: มนตรี
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2555). ภาวะผู้นำและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2553). ร้อยโรงเรียนดีวิถีพุทธชั้นนำ รุ่น 1 : โครงการประเมินเสนอแนะและพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
มานะชัย สุริยนต์. (2554). คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอำเภอธาตุพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนมเขต 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระครุศาสตร์ สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำทฤษฎีการวิจัยและแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิก. สำนักนายกรัฐมนตรี.
Aiken, W. C. (1977). The Leadership Behavior of Selected Local Director of Vocational Education in Tennessee. Dissertation Abstracts International 37(9): 5075-A.
Davis, E. L. (1993). The Leadership Behavior of Principals and Their Effect on School Improvement in Effective Urban High School. (Urban School). Dissertation Abstracts International 53: 4144.
John Best, W. (1981). Research in Education. 4th ed. Englewood Cliffs (New Jersey: Prentice-Hall.
Lanier, S. P. (1993). Promotion moral and conceptual development in rural adolescents. London: Routledge and Kegan Pual.
Likert, R. (1961). New Patternt of Management. New York: McGraw-Hill.
Lunenburg, F. C., & Ornstein, A. C. (2008). Educational administration: Concepts and practices. 5th ed. Belmont. CA: Wadworth/Cengage Learning.
Osakwe, V. C. (1981). Moral Education: In the use skill for a beginning experience in the use of Kohlbery’s stay development. Dissertation Abstracts International. 2056-A2057-A: 42.
Schroeder, G. B. (1970). Leadership Behavior of Department Chairman in Selected State Institution of Higher Education. Dissertation Abstracts International 30(12): 5202-A.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว