นวัตกรรมการสื่อสารกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
คำสำคัญ:
นวัตกรรม, การสื่อสาร, การเมืองบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานวัตกรรมการสื่อสารกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน นวัตกรรม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และนวัตกรรมของมนุษย์จนแยกกันไม่ออก ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ ตลอดจนโครงสร้างทางสังคม อีกทั้งเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเพิ่มพูนความสามารถเชิงการแข่งขันของประเทศ ในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาโลกได้เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่สำคัญอย่างก้าวกระโดดก่อนจะก้าวเข้าสู่ศตวรรษใหม่ การก้าวกระโดดดังกล่าว ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมอย่างมาก และการเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมา ซึ่งนับจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยิ่งมีความเร็วมากขึ้นทุกขณะ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างทางสังคมมากขึ้น ประเทศใดที่สามารถปรับตัวได้ทันก็ย่อมสามารถเจริญก้าวหน้าได้อย่างมั่นคง และหากมีการปรับตัวทางสังคมไปพร้อม ๆ กันด้วยแล้วก็ถือว่าเป็นการเร่งให้สังคมนั้นมีการพัฒนาอย่างยั่งยืนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมากมายในแทบทุกวงการ โดยนวัตกรรมต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ทำให้ชีวิตสะดวกรวดเร็วมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยสร้างโอกาสในการเข้าถึงข่าวสารความรู้ได้เป็นอย่างดียิ่ง
References
การออกเสียงลงประชามติตามความแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 มาตรา 29 วรรคสอง.
กีรติ ยศยิ่งยง. (2552). องค์กรแห่งนวัตกรรม แนวคิด และกระบวนการ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จรูญ วงศ์สายันห์. (2520). นวกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา,
ชนินทร เพ็ญสูตร. (2560). ประเทศไทย 4.0 บริบททางเศรษฐกิจ และการเมือง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2521). หลักการทฤษฎีเทคโนโลยีและนวกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ประสานการพิมพ์.
ดำรงฤทธิ์ วิบูลกิจธนากร และจิตติพงษ์ สาธร. (2550). ความคิดเห็นของผู้บริหารเกี่ยวกับนโยบายและทิศทางของการใช้ไอซีทีในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
ทัศนีย์ เจนวิถีสุข. (2554). การสื่อสารเชิงพุทธกับการเปลี่ยนแปลงสังคม. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
นัยนา รัตนสุวรรณชาติ, เขมมารี รักษ์ชูชีพ, ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี. (2562). นวัตกรรมการเมือง. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย. 11(3).
แนวคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15-18/2556.
แนวคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15-18/2556 และคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 1/2557.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2545). สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) หมวดทั่วไป เรื่อง 1. เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร: องค์การคุรุสภา.
ปัทมา สูบกำปัง. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนชาวไทยในรอบทศวรรษที่ผ่านมา: (ออนไลน์). สำนักข่าวอิศรา. 2 มิถุนายน 2558 http: //www.isranews.org/ south-news/stat history/256-articles/ 13788–2010– 07–30–09-19 02. html?pop= 1 &print=1&tmpl= component
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). กระบวนการพัฒนาและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
พยัต วุฒิรงค์. (2557). การจัดการนวัตกรรม: ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พฤทธิสาณ ชุมพล. (2546). ระบบการเมือง: ความรู้เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 44, 63, 170.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2565). การสื่อสาร. (ออนไลน์), สืบค้น 20 พฤศจิกายน 2565 จาก https://th.wikipedia.org/wiki
ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2548). นโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมบูรณ์ สงวนญาติ. (2534). เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ครั้งที่ 3 หน่วยศึกษานิเทศก์กรมฝึกหัดครู. เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2547). การจัดการนวัตกรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2541). นวัตกรรม กุญแจสู่ความสำเร็จของประเทศไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
สุภาภรณ์ ติ่งอินทร์. (2553). กลยุทธ์การสื่อสารของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ที่เคยดำรงตำแหน่งกำนัน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อาคม สุวรรณกันทา. (2542). การรายงานข่าวสืบสวนทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทยและผลกระทบต่อการรับรู้ของสังคม. การค้นคว้าแบบอิสระรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Almond, G.A. and Powell G.B. (1978). Comparative Politics: Political Communication. Boston: little Brown.
Brian Mcnair. (2003). An Introduction to Political Communication. London: Routledge.
Kenneth L. (2000). Hacker and Jan Van Dijk. Digital Democracy. New Delhi: SAGE.
Micheal Rush and Phillip H. (1971). Althoff, An Introduction to Political Sociology London: Thomas Nelson and Sons Limited.
Morton, J.A. (1971). Organizing for innovation: A systems approach to technical management. New York: McGraw-Hill.
Thomas, Hughes. (1987). The Social Construction of Technological Systems: New Directions in the sociology and History of Technology. Cambridge: M. I. T. Press.
Warren K. Agree, Phillip H. (1976). Although and Edwin Emery, Introduction to Mass Communication. New York: Harper & Row.
Wilbur Schramm. (1974). The Process and Effects of Mass Communication. Urbana: University of Illinois Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว