ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารหารจัดการโรงแรมประเภทรีสอร์ท หลังสภาวการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
คำสำคัญ:
ปัจจัย, ความสำเร็จ, การบริหาร, โรงแรมบทคัดย่อ
การสังเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการโรงแรม สรุปได้เป็น 6 ปัจจัย ดังนี้ 1) ธรรมชาติโดยรอบพื้นที่ตั้งโรงแรม ได้แก่ธรรมชาติที่อยู่โดยรอบบริเวณที่ตั้งของโรงแรม 2) วัฒนธรรมและประเพณี เป็นสิ่งมนุษย์ได้สรรสร้างขึ้นมาในอดีตกาลและคนรุ่นใหม่ยังคงรักษา ประพฤติ และปฏิบัติตามความเชื่อและชื่นชมในมรดกของบรรพบุรุษในชุมชนที่ตั้งโรงแรมหรือชุมชนใกล้เคียง 3) กิจกรรมของชุมชนและโรงแรม สิ่งกำหนดหรือสิ่งที่มีเกิดขึ้นในโรงแรม และในชุมชน 4) บรรยากาศและความสะดวกสบาย ได้แก่ ความสวยงาม ร่มรื่น อุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ปลอดภัยของเส้นทางคมนาคมยังโรงแรม และที่ตั้งตลอดจนภายในบริเวณโรงแรม มีความเป็นธรรมชาติ สะอาด มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวก 5) แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่รอบบริเวณที่ตั้งโรงแรม มีแหล่งท่องเที่ยวบริเวณโดยรอบนอกโรงแรม และ 6) อัตลักษณ์ของโรงแรม ได้แก่ สิ่งปลูกสร้างอาคาร สถานที่ การให้บริการ กิจกรรมภายในและการมีส่วนร่วมกับชุมชน เทคโนโลยี ตลอดจนอาหารและสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีลักษณ์เฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของโรงแรม
References
กฤษฎิ์ กาญจนกิตติ. (2541). ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โรงแรมในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กรมส่งเสริมการท่องเที่ยว. (2525). รายงานประเมินผลการท่องเที่ยวตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520- 2524). กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการท่องเที่ยว กระทรวงอุตสาหกรรม.
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). รายงานสถิตินักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าในประเทศไทย. (International Tourist Arrivals to Thailand). กรุงเทพฯ: กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา.
ขวัญหทัย สุขสมณะ. (2545). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
“ปีท่องเที่ยวไทย 2541-2542 (Amazing Thailand 1998- 1999)”. https://library.rsu.ac.th. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2566.
กรมควบคุมโรค. (2564). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). “สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุขและปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง”. กรุงเทพฯ: กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). “การเปลี่ยนแปลงภาคการท่องเที่ยวไทยกับก้าวต่อไปหลังเปิดประเทศ”. https:// www.bot.or.th. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2566.
จันทร์ทิมา รักมั่นเจริญ. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการที่พัก ประเภทโรงแรมและรีสอร์ทของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในเขตพื้นที่เศรษฐกิจ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. ปทุมธานี: การศึกษาค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจ คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ภัทรภร ชัยพุทธนพันธ์. (2554). ปัจจัยที่ความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการประกอบธุรกิจโรงแรมบูติกขนาดเล็กในเขตกรุงเทพมหานคร. นนทบุรี: วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สินีนาถ ตันตราพล. (2545). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: การค้นคว้าอิสระ เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธวัชชัย สู่เพื่อน ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์ และ บัณฑิต ผังนิรันดร์. (2562). แบบจำลองความสำเร็จของการดำเนินธุรกิจโรงแรมราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์. วารสารสมาคมนักวิจัย. 25(1) มกราคม – เมษายน.
ธิดารัตน์ เหมือนเดชา. (2558). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการธุรกิจโรงแรมในจังหวัดอุตรดิตถ์. อุตรดิตถ์: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
อุษณีย์ ศรีภูมิ. (2544). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่อการท่องเที่ยวทัศนศึกษาในเขตฐานทัพเรือ สัตหีบ. นิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
Assaf, A. G., Josiassen, A., Cvelbar, L. K., & Woo, L. (2015). The effects of customer voice on hotel performance. International Journal of Hospitality Management. (44),77-83.
Darini, M & Khozaei, F. (2016). The study of factors affecting customer’s satisfaction with the three stars hotels in Dubai. International Journal of Advanced Engineering, Management and Science (IJAEMS). 2(2): 2454-1311.
Litvin, S. W., & Dowling, K. M. (2016). Trip Advisor and hotel consumer brand loyalty. Current Issues in Tourism, 1-5.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว