กลยุทธ์การนิเทศภายในโรงเรียนวัดราชาธิวาส สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
คำสำคัญ:
กลยุทธ์, การนิเทศภายในโรงเรียนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนวัดราชาธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2) เพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการนิเทศภายในโรงเรียนวัดราชาธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู โรงเรียนวัดราชาธิวาส จำนวน 46 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสภาพปัจจุบันเท่ากับ .988 และแบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์เท่ากับ .985 ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน PNImodified และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ์การนิเทศภายในโรงเรียนและแนวปฏิบัติที่ดีของการนิเทศภายในโรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดราชาธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดราชาธิวาส โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด 2) กลยุทธ์การนิเทศภายในโรงเรียนวัดราชาธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ประกอบด้วย กลยุทธ์หลักที่ 1 พัฒนากระบวนการดำเนินการนิเทศภายในอย่างมีคุณภาพ มี 3 กลยุทธ์รอง 7 วิธีดำเนินการ กลยุทธ์หลักที่ 2 ยกระดับความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อการนิเทศภายในอย่างมีคุณภาพ มี 2 กลยุทธ์รอง 4 วิธีดำเนินการ กลยุทธ์หลักที่ 3 พัฒนาระบบการนิเทศติดตามและตรวจสอบ เพื่อการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ มี 1 กลยุทธ์รอง 4 วิธีดำเนินการ และกลยุทธ์หลักที่ 4 ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายการนิเทศภายในเพื่อแลกเปลี่ยนและพัฒนาการนิเทศอย่างมีคุณภาพ มี 2 กลยุทธ์รอง 4 วิธีดำเนินการ
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการนำมาตรฐานหลักสูตรไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กระทรวงศึกษาธิการ.
กรองทอง จิรเดชากุล. (2550). คู่มือการนิเทศภายใน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร.
จุไรรัตน์ สุดรุ่ง. (2559). การนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
ชุติมันต์ สะลอง. (2560). การจัดการเชิงกลยุทธ์. แม่ฮ่องสอน : เรือนภาพ.
ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2547). การนิเทศการศึกษา EDUCTION SUPERVISION. กรุงเทพฯ: เค แอนพี.
ชาญชัย อาจิณสมาจาร. (2550). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชุลีวรรณ โชติวงษ์. (2564). เอกสารคำสอน รายวิชา การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ผลิตตำราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ฑิฆัมพร ทวีเดช. (2559). การจัดการเชิงกลยุทธ์. ศูนย์ผลิตตำราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2552). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ธงชัย สันติวงษ์. (2546). การบริหารสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ประชุมช่าง.
ธนาชัย สุขวณิชและพรชัย อรัณยกานนท์. (2557). การบริการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
นันทรัตน์ เจริญกุล. (2564). การบริหารนโยบายและกลยุทธ์การศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นันทิยา หุตานุวัตร. (2551). คิดกลยุทธ์ด้วย SWOT. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี.
เนตร์พัณณา ยาวิราช.(2552). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ็กซเพรส. หน้า47-56.
ประยงค์ มีใจซื่อ. (2556). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พิริยะ ผลพิรุฬห์. (2552). การวางแผนกลยุทธ์และการวิเคราะห์โครงการ. กรุงเทพฯ : ไทยพัฒนารายวันการพิมพ์.
พรรณนุช ชัยปินชนะ. (2555). การวางแผนกลยุทธ์. เชียงใหม่ : สารภีการพิมพ์.
ภักดี มานะหิรัญเวท. (2556). การจัดการเชิงกลยุทธ์ระดับโลก. นนทบุรี: กรีนแอปเปิ้ล กราฟฟิค พริ้นติ้ง.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2557). การนิเทศการศึกษา. สงขลา : เทมการพิมพ์.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2554) การนิเทศการสอน. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศิริพร นุชสำเนียง. (2559). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. นครปฐม : ภูมิการพิมพ์
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (ม.ป.ป.) การบริหารสำนักงานแบบใหม่. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มิตรสยาม
สมาน อัศวภูมิ. (2557). การบริการสถานศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษายุคใหม่. อุบลราชธานี : หจก.อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.
สุวดี อุปปินใจ. (2565). การนิเทศและการพัฒนานวัตกรรมการนิเทศการศึกษา. เชียงราย : โรงพิมพ์ร้านปิ้แอนด์น้อง.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). การบริหารเชิงกลยุทธ์: แนวคิด ทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เสาวนี สิริสุขศิลป์. (2564). ภาวะผู้นำทางการนิเทศการศึกษา. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การบริหาร จัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. หน้า125.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). การวางแผนเชิงกลยุทธ์การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กฎหมายในชีวิตประจำวัน สำหรับผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ:สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). การนิเทศภายในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
Abdulkareem, A.Y. (2011). Reforms in Higher Education in Nigeria and the Challenges of Globalization. Educational Thought, 7(2), 125-138, March.
Burton, William H., and Brueckner, Lee J. (1995). Supervision : A Social Process. (3rd ed.). New York: Appleton-Country-Crofts.
Counts, George E., Sue I. Shepard and Richard F. Farmer. (1998). Evaluation and Supervision of Teacher in Missouri schools. Report-Research, 9 (3), Abstract.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว