การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสจักรในประเทศไทย
คำสำคัญ:
รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย, การส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เป็นการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนระดับปฐมวัย โรงเรียนขนาดกลาง สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย จำนวน 40 คน การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกเป็นการพัฒนารูปแบบฯ และระยะที่ 2 เป็นการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม แผนปฏิบัติการทดลองและแบบประเมินผลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และการทดสอบค่าที (t-test dependent)
ผลการวิจัยพบว่าสภาพปัญหาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( = 2.76 ,SD= 0.38) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนขนาดกลาง สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย มีการดำเนินงาน 5 ขั้นตอน คือ การเตรียมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การนำเข้าสู่บทเรียน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การสรุปผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการประเมินผล โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X ̅ = 4.41,S.D.= 0.06) ผลการเปรียบเทียบผลการทดลอง พบว่าหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการใช้รูปแบบด้านประสิทธิภาพ ด้านประสิทธิผล และด้านคุณค่า อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.66 ,S.D.= 0.06)
References
กิตติศักดิ เกตุนุติ. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ B-R-A-I- N เพื่อส่งเสริมความสามารถทางการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัย (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). สืบค้นจาก http://thesis.swu.ac.th/swudis/Ear_Chi_Ed/Kittisak_K.pdf
ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล. (2562). ความรอบรู้ด้านสุขภาพในฐานะที่เป็นยุทธศาสตร์ระดับพลเมืองเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ.แปลแบบถอดความจาก Health literacy as a population strategy for health promotion : Don NUTBEAM. สืบค้นจาก http://122.154.73.26/data/HL/ HLAsPopulationStrategyThai.pdf.
ชลธิชา เกื้อสกุล. (2556, 9 มิถุนายน). กระบวนการเรียนรู้แบบ Discovery Learning Process. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/323771.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2559, 11 พฤศจิกายน). บริหารคนบนคุณค่า (Value) ดีกว่าบริหารคนบนหน้าที่ (Responsibility). สืบค้นจาก https://narongwits.com/value-responsibility/.
ธนสาร บัลลังก์ปัทมา. (2556, 14 มิถุนายน). การเรียนรู้แบบโครงการ รูปแบบ DLP โรงเรียนอนุบาลนครปฐม. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/377412.
นรรัชต์ ฝันเชียร (2564, 9 ธันวาคม). กระบวนการพัฒนาการคิดขั้นสูงเชิงระบบ GPAS. สืบค้นจาก https://www.trueplookpanya.com/education/content/90844.
นันทิยาภรณ์ หงส์เวียงจันทร์. (2559). การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
นุชรินทร์ เหล่าผิง. (2562). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์วิชาภาษาไทยตามแนวคิดของมาร์ซาโน (Marzano) สำหรับนักเรียนระดับปฐมวัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจากchrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj/https://libdoc.dpu.ac.th/ thesis/Nudcharin.Lao.pdf.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วน จำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
พัฒน์นรี จันทราภิรมย์. (2565). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา. วารสารเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์และนวัตกรรม, 1(1), 57-69. สืบค้นจาก https://www.het.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2022/08/06-เกมการศึกษา.pdf
พิทยาภรณ์ จิตรสังวรณ์ และ กรวิภา สรรพกิจจำนง. (2564). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ระหว่างการจัดประสบการณ์ โดยใช้หนังสือภาพปริศนา ชุด หนูดีรักผลไม้ กับการจัดประสบการณ์แบบปกติ. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 5(2), 318 - 330. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/248379
มิตร ทองกาบ. (2558). รูปแบบการบริหารกิจการนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สำหรับ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
วรรธนา นันตาเขียน. (2563). การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชิงบูรณาการเพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้น18 สิงหาคม 2566, จาก http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/handle/123456789/1279.
ศราวุธ สุขจินดา. (2562). การพัฒนารูปแบบสมรรถนะที่มีประสิทธิภาพของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 (1). สืบค้นจาก https://cadt.dpu.ac.th/upload/content/files/มาตรฐานการศึกษาของชาติ%202561.pdf
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3 – 6 ปี (1). สืบค้นจาก http://academic.obec.go.th/images/ document/ 1572317514_d_1.pdf
สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฏร. (2563). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560. สืบค้นจาก http://www.parliament.go.th.
เสาวนารถ เล็กเลอสินธุ์. (2559). ประสิทธิภาพการบริหารงานของผู้บริหารในองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.
อารมณ์สุวรรณปาล. (2551). การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย หน่วยที่7-10. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, the classification of educational goals – Handbook I: Cognitive Domain. New York: McKay.
Eric Jensen. (2000). Brain-based learning. San Diego, CA: The Brain Store Publishing.
Marzano, Robert J. (2001). Desinging A New Taxonomy of Educational Objectives. California: Corwin Press, Inc.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว