การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2

ผู้แต่ง

  • ชัยวัฒน์ สมเกียรติประยูร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ชนมณี ชนมณี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • รัตนา กาญจนพันธุ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • อำนวย ทองโปร่ง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, บริหารงานวิชาการ, ครู

บทคัดย่อ

The purposes of this research were: (1) the teachers’participation in schools’academic administration under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office two In addition, the researcher compares (2)the teachers’participation as classified by the educational level, work experience, and school size. The sample population consisted of 361 teachers employed in schools under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office two. using the stratified random sampling method. The research instrument was a five-rating scale questionnaire. The research instrument was a 71-item five-rating scale questionnaire couched at the reliability level of 0.98. By using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of frequency, percentage, mean, and standard deviation. A t test technique and the one-way analysis of variance (ANOVA) technique were also employed by the researcher. When differences between groups were found, Scheffé’s multiple comparison was additionally utilized by the researcher. Findings are as follows:                             1) Teachers’participation in academic administration by the school directors under study in an overall picture was at a high level. When considered in each of the nine aspects, it was found that participation was displayed at a high level in the following descending order: The learning process development; measurement, evaluation, and educational transfer; school curriculum development; the development and use of educational technology media; research for educational quality development; learning resources development; educational guidance; educational supervision; and coordination with other educational institutions in academic development

          2) In comparing teachers’participation in academic administration of these schools by reference to differences in educational level, work experience, and school size. the researcher found the following: 2.1) The teachers who differed in the demographical characteristics of educational level overall did not exhibite parallel differences in participation academic administration. When considered in the aspects of school curriculum development concomitant differences were found at the statistically significant level of .05, while other aspects proved differently. 2.2)The teachers who differed in the demographical characteristics of work experience overall exhibited parallel differences in participation academic administration at the statistically significant level of .05. When considered in the aspects of school curriculum development, the learning process development, measurement, evaluation, and educational transfer; research for educational quality development,educational supervision, and coordination with other educational institutions in academic development , concomitant differences were found at the statistically significant level of .05. Regarding to the aspect of the development and use of educational technology media, learning resources development; and educational guidance, there are no corresponding differences. 2.3)The teachers who differed in the demographical characteristics of school size did not evince parallel differences in their participation regarding the academic administration of the administrators overall and in all.

Author Biographies

ชัยวัฒน์ สมเกียรติประยูร , คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาบริหารการศึกษาและอุดมศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ชนมณี ชนมณี, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รัตนา กาญจนพันธุ์ , คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

อำนวย ทองโปร่ง, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

References

กานต์สินี สุขุมาลรังสี. (2558). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2542). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. ภาควิชาทดสอบและวิจัยทางการศึกษา. บุรีรัมย์: สถาบันราชภัฎบุรีรัมย์.

พาขวัญ พันธุ์ทองดี. (2556). การมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนเครือข่ายกรมหลวงชุมพร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

มานิตา สุทธิหา. (2556). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษาและครูในโรงเรียน ประถมศึกษาอำเภอบางปะกงสังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สันติ บุญภิรมย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.

สุนันทา เมืองสงวน. (2553). การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนวัดบางรักใหญ่ (สายอักษรศรี) สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

อรุโณทัย ส่งศรี. (2555). การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการของครู อําเภอบ้านฉาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-16