เครื่องมือการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แบบสอบถามออนไลน์

ผู้แต่ง

  • บุญรัตน์ แผลงศร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

แบบสอบถามออนไลน์, แบบสอบถาม, การเก็บรวบรวมข้อมูล

บทคัดย่อ

               หลังเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คนส่วนใหญ่คุ้นเคยกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตมากขึ้น เมื่อได้รับแบบสอบถามออนไลน์จึงมีความเข้าใจและสามารถตอบแบบสอบถามได้เป็นอย่างดี นักวิจัยทางสังคมศาสตร์จึงนิยมใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมมากขึ้น สำหรับเนื้อหาในบทความนี้ มุ่งนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับแบบสอบถามออนไลน์ โดยมีสาระสำคัญได้แก่ ปัจจัยเงื่อนไขต่อการใช้แบบสอบถามออนไลน์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ แนวทางการพัฒนาแบบสอบถามออนไลน์ และจริยธรรมในการใช้แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งรวบรวมจากการศึกษาแนวคิด เอกสาร งานวิจัย และประสบการณ์ของผู้เขียน

References

ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2559). การสร้างเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุบผา เมฆศรีทองคำ. (2562). ทิศทางในอนาคตสำหรับการวิจัยวารสารศาสตร์ดิจิทัล: การทบทวนงานวิจัยดิจิทัล. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 32(2), 14.

พัชรภรณ์ สุนทรวิบูลย์. (2561). แนวคิดการสร้างแบบวัดด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสารการวัดผลการศึกษา,

(97), 10-21.

พินดา วราสุนันท์. (2556). ย้อนรอยการประเมินสู่มุมมองการประเมินในอนาคต. วารสารการวัดผลการศึกษา, 30(88), 12-21.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2562. ส. ก. ฒ. ร. เ. ก. ก. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สืบค้นจากhttps://www.etda.or.th/download-publishing/142.

Braun, V., Clarke, V., Boulton, E., Davey, L., & McEvoy, C. (2021, 2021/11/02). The online survey as a qualitative research tool. International Journal of Social Research Methodology, 24 (6), 641-654. https://doi.org/10.1080/13645579.2020.1805550.

Creswell, J. W., & Creswell, J. D. (2018). Research design : qualitative, quantitative, and mixed methods approaches (Fifth edition. ed.). SAGE.

Farmer, R., Oakman, P., & Rice, P. (2016, 09/05). A review of free online survey tools for undergraduate students. MSOR Connections, 15(1), 71-78.

Nayak, M. S. D. P., & Narayan, K. A. (2019, 05/20). Strengths and Weakness of Online Surveys, 24, 31-38. https://doi.org/10.9790/0837-2405053138

Saleh, A., & Bista, K. (2017). Examining Factors Impacting Online Survey Response Rates in Educational Research: Perceptions of Graduate Students. Journal of MultiDisciplinary Evaluation, 13(29), 63-74.

Shannon, D. M., & Bradshaw, C. C. (2002, 2002/01/01). A Comparison of Response Rate, Response Time, and Costs of Mail and Electronic Surveys. The Journal of Experimental Education, 70,(2). 179-192. https://doi.org/10.1080/00220970209599505.

Snijders, C., Matzat, U., Pluis, B., & de Haan, W. (2020). The use of progress bars in online questionnaires. Retrieved September 20th, 2021 from https://www.panelclix.co.uk/expertise/researchpublications.htm.

Sue, V. M., & Ritter, L. A. (2012). Conducting Online Surveys (2 ed.). Sage.

Sutton, T. M., & Altarriba, J. (2016, 2016/06/01). Color associations to emotion and emotion-laden words: A collection of norms for stimulus construction and selection. Behavior Research Methods, 48(2), 686-728. https://doi.org/10.3758/s13428-015-0598-8.

Yentes, R., Toaddy, S., Thompson, L., Gissel, A., & Stoughton, J. (2012). Effects of Survey Progress Bars on Data Quality and Enjoyment. Poster presented at the 27th annual meeting of the Society for Industrial and Organizational Psychologists, San Diego, CA.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30