การกลายเป็นคำสันธานของคำปฏิเสธ “หาไม่” ในภาษาไทย

Main Article Content

อารียา ทองลอง
สาโรจน์ บัวพันธุ์งาม

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มุ่งนำเสนอกระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำปฏิเสธ “หาไม่” ซึ่งเป็นคำที่มีเนื้อหาเฉพาะ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2328) จนถึงสมัยปัจจุบัน (พ.ศ. 2566) และเก็บข้อมูลเฉพาะที่เป็นงานเขียนประเภทร้อยแก้วเท่านั้น ผลการศึกษาพบว่า คำปฏิเสธ หาไม่ ก่อนที่จะกลายเป็นคำสันธานอย่างสมบูรณ์นั้นได้ผ่านกระบวนการกลายเป็นศัพท์ โดยวลี
บอกปฏิเสธได้กลายไปเป็นคำปฏิเสธ ผ่านกระบวนการที่วลีกลายเป็นคำ อย่างไรก็ตาม ในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้เกิดกระบวนการกลายเป็นคำสันธานของคำปฏิเสธ “หาไม่” ซึ่งประกอบไปด้วยกระบวนการทางวากยสัมพันธ์และกระบวนการทางความหมาย โดยมีกลไกสำคัญ 3 อย่าง ได้แก่ บริบทการปรากฏของภาษา การวิเคราะห์ใหม่ และการจางลงทางความหมาย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย

กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา. 2559. Grammaticalization กระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

กรมศิลปากร. ม.ป.ป. จดหมายเหตุรัชกาลที่ 2 จุลศักราช 1171-1174. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2566, จาก https://shorturl.asia/zDYqZ

กรมศิลปากร. ม.ป.ป. ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 4 ภาคปกิณกะ ภาค 1 และประเพณีทำบุญวันเกิด. ค้นเมื่อ 23 กรกฏกาคม 2566, จาก https://www.finearts.go.th/

กรมศิลปากร. ม.ป.ป. โคลนติดล้อ. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.finearts.go.th/storage/contents/2020/07/file

เทพี จรัสจรุงเกียรติ. 2543. หน่วยเชื่อมโยงปริจเฉทภาษาไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จาก https://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/8965/1/Debi.pdf

นิดา จำปาทิพย์. 2557. พัฒนาการของคำบอกปฏิเสธ “บ่” “มิ” “ไป่” “ไม่” ในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จาก https://shorturl.asia/6MjgO

นววรรณ พันธุเมธา. 2559. ไวยากรณ์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิรุฬห์ ปิยมหพงศ์. 2561. “Grammaticalization กระบวนการกลายเป็นรูปไวยากรณ์.” วารสารมนุษยศาสตร์ 25 (2): 433-453.

วิจินตน์ ภานุพงศ์. 2538. โครสร้างของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

วิจินตน์ ภานุพงศ์ และคณะ. 2555. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3: ชนิดของคำ วลี ประโยค และสัมพันธสาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

วิภาส โพธิแพทย์. 2557. “กระบวนการเกิดคำใหม่ในภาษาไทย.” วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ 32 (2): 1-24.

วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. 2526. ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ: วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์ และเชิดชัย อุดมพันธ์. 2564. “การกลายเป็นคำสันธานของคำกริยา “กลับ” ในภาษาไทยสมัยสุโขทัยถึงปัจจุบัน.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 9(2): 43-62.

สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ. 2551. “ยัง”: การศึกษาเชิงประวัติ.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ห้องสมุดวัชรญาณ. ม.ป.ป. จดหมายหลวงอุดมสมบัติ. ค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2566, จาก https://vajirayana.org

ห้องสมุดวัชรญาณ. ม.ป.ป. พระราชนิพนธ์ไกลบ้าน. ค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2566, จาก https://vajirayana.org

ห้องสมุดวัชรญาณ. ม.ป.ป. พระราชหัตถเลขา เรื่องเสด็จประพาสแหลมมลายู ร.ศ. 109. ค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2566, จาก https://vajirayana.org

ห้องสมุดวัชรญาณ. ม.ป.ป. ราชาธิราช. ค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2566, จาก https://vajirayana.org

ห้องสมุดวัชรญาณ. ม.ป.ป. สามก๊ก ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2471. ค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2566, จาก https://vajirayana.org

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. 2553. ชนิดของคำในภาษาไทย: การวิเคราะห์ทาวากยสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: เอเอ๊สพี.

อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. 2547. ไวยากรณ์ไทยในภาษาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ภาษาอังกฤษ

Heine B., Claudi U. & Hunnemeyer F. 1991. Grammaticalization A conceptual framework. Chicago: The University of Chicago Press.

Hopper P. & Traugott E. 2003. Grammaticalization. 2nd ed. Cambridge: Cambridge University Press.

lehmann C. 2020. Univerbation. Folia Linguistica Historica, 41: 205-252, from http:22doi.org /10.1515/flih-2020-0007