ANAPANASATI: BREATH OF AWAKENING ACCORDING TO BUDDHISM PRINCIPLE

Main Article Content

พระณัฐวุฒิ พันทะลี
Phra Natthawut Phanthali

Abstract

This academic paper aims to show the importance of anapanasati. that are important to every human life by having everyone consciously set their breath in and exhale in every movement, whether moving, standing, walking, sitting, lying down, which anapana meditation can be done anywhere, anytime and in every gesture, strengthen the mind have good health have immunity no ailments, slow aging, long life, relief from various ailments and being able to escape from all defilements and sufferings, known as the cessation of taints which leads to emotional undergoing with an independent mind with the wisdom that knows nature not being influenced by or persuaded by passion not burned by lust and not be blinded by ignorance. Live with a transparent mind, happiness, freedom, when there is no desire leading to the world. The process of dharma samsara ended. attainment of the cessation of suffering access to true happiness which is the greatest benefit of all human life that can be achieved.

Article Details

How to Cite
พันทะลี พ., & Phanthali, P. N. . (2021). ANAPANASATI: BREATH OF AWAKENING ACCORDING TO BUDDHISM PRINCIPLE. Buddhism in Mekong Region Journal, 4(2), 1–13. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/bmrj/article/view/251472
Section
Academic Article

References

กาญจนาณัฐ ประธาตุ. (2560).พระพุทธศาสนากับสังคมไทย : การยืนหยัดและท้าทายในรอบทศวรรษ (พ.ศ. 2548 – 2558). วารสารศิลปะการจัดการ.ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม), หน้า 105.
จิรวัฒนา พุ่มด้วงและคณะ.(2562) การเพิ่มศักยภาพพฤติกรรมการเรียนรู้ในการใช้หลักอานาปานสติของนักศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี: กรณีศึกษานักศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม.ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม), หน้า 46.
ปราโมทย์ ยอดแก้ว. (2561). การพัฒนาการตื่นรู้ของบัณฑิตในสังคมไทย.วารสารศิลปะการจัดการ.ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน), หน้า 37.
พรอมรินทร์ อุทัยสมบัติ.(2555). ศึกษาแนวทางการฝึกอานาปานสติ เพื่อส่งเสริมการเล่นเทนนิส.ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพุทธศาสตร์และศิลปะแห่งชีวิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูพิมลปัญญานุยุต. (2561). กระบวนการพัฒนาตนตามหลกัพุทธจิตวิทยา เพื่อการตื่นรู้. วารสาร รมยสาร. ปีที่ 16 ฉบับ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม), หน้า 565.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2555). พุทธธรรมฉบับขยาย.พิมพ์ครั้งที่ 33. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2559). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย,หน้า 788.
พระพุทธโฆสะเถระ. (2558).วิสุทธิมรรคแปลและเรียบเรียง โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์(อาจ อาสภมหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร บริษัท ธนาเพรส จำกัด.
พระภาวนาพิศาลเมธี. (2562). อานาปานสติภาวนา. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์.
พระมหาเขมานันท์ ปิยสีโล. (2562) อานาปานสติกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ในประเทศไทย. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์.ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม), หน้า 169.
พระมหายศธนา ปภากโร.(2562) วิเคราะห์หลักการสอนอานาปานสติตามแนวปฏิบัติของพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์.ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม), หน้า 2197.
พระราชวรมุนี. (2556). พุทธธรรม. กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
ยัง กุนอก. (2560). การใช้อานาปานสติภาวนา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยราชธานี.การประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 1 “สร้างเสริมสหวิทยาการผสมผสานวัฒนธรรมไทยก้าวอย่างมั่นใจเข้าสู่ AC”. มหาวิทยาลัยราชธานี.
วิชัย โชควิวัฒน์. (2552). การศึกษาว่าด้วยมิติทั้ง 4 ของสุขภาพ. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข.ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน), หน้า 323.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2550). พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
องอาจ เขียวงามดี. (2563). องค์กรพุทธในประเทศไทย : มิติการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. วารสารปรัชญาปริทรรศน์.ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม), หน้า 49.
อรวรรณ จันทร์มณี. (2557). ผลของการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติร่วมกับการฝึกสร้างจินตนาการต่อระดับสมาธิของเด็กที่มีความเสี่ยงสมาธิสั้น. วารสารพยาบาลตำรวจ.ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน),หน้า 59.