Happiness at work and job effectiveness of Bangkok Civil Servants

Main Article Content

Chiraphan Wongkham
Chaiyuth Chinokul

Abstract

The purpose of this research was to study; 1) the level of opinion on happiness at work, 2) the level of opinion on effectiveness, 3) the difference of personal factors and the opinion level on happiness at work, and 4) the influence of happiness at work to operational effectiveness of Bangkok civil servants. This research is quantitative research. Data were collected by questionnaires. The sample consisted of 392 Bangkok civil servantswere drawn from a population of 20,129 people by multistage random sampling. The data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, inference statistics including multiple regression analysis.
The results showed that:
1. Happiness at work of Bangkok civil servants at a high level.
2. Effectiveness of Bangkok civil servants at a high level.
3. Different personal factors made the work happiness of ordinary Bangkok civil servants different.
4. The level of opinion on job effectiveness of Bangkok civil servants with statistical.

Article Details

How to Cite
Wongkham, C., & Chinokul, C. . (2024). Happiness at work and job effectiveness of Bangkok Civil Servants. Dhammathas Academic Journal, 24(1), 127–140. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/dhammathas/article/view/264810
Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

ณัฐชยา ศรีจันทร์. (2560). ความสุขในการทำงานของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัท เอพี ออโต้ มาสเตอร์ จำกัด. (สารนิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

ปิยะวัฒน์ เจริญศักดิ์. (2564). ความสุขและความผูกพันในการทำงานของพริตตี้ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พงษ์เทพ สันติกุล. (2560). การวิจัยทางวิทยาศาสตร์สังคมสำหรับนักศึกษาและผู้ปฏิบัติงานสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภัทรดนัย ฉลองบุญ (2561). ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6, 590-599.

มนชนก ชูพรรคเจริญ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของพนักงานเอกชนในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. (สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร. (2562). กรอบอัตรากาลังและจำนวนข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำแนกตามหน่วยงาน. เข้าถึงได้จาก http://203.155.220.238/csc/images/Files/report_stat/num_office_by_department.pdf

สิรพัทธ์ ชูยก. (2563). ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากร กรณีศึกษา กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง. (สารนิพนธ์ทวิปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุพิศ ฤทธิ์แก้ว และคณะ. (2563). ความสัมพันธ์ของความสุขในการทำงานกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทชัวร์เท็กซ์ จำกัด. วารสารวิทยาการจัดการ, 7(1), 97-117.

สุมาลี ดวงกลาง. (2560). ความสุขในการทำงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์. (สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก.

Bellet, C. S., De Neve, J. E. & Ward, G. (2022). Does Employee Happiness Have an Impact on Productivity?. Saïd Business School, 13, 1-61.

Moorhead, G. & Griffin, R. W. (2001). Organizational behavior. Boston: Houghton Mifflin.

Oswald, J. A., Protoand, E. & Sgroi, D. (2014). Happiness and Productivity. Journal of Labor Economics, 33(4), 789-822.