อาชีพของนักรัฐศาสตร์

Main Article Content

พระครูปัญญาสุธรรมนิเทศก์ ทองสุข

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอ ที่มา ความสำคัญ และอาชีพของนักรัฐศาสตร์ที่มีต่อชีวิต และสังคม อาชีพของนักรัฐศาสตร์มีที่มาและความสำคัญจากความต้องการพื้นฐานของชีวิตสู่ความต้องการของสังคมโดยรวม ทั้งโดยลำดับและทวนลำดับ ประเภทอาชีพตามมาตรฐานสากลที่ถือเป็นสายตรงทางรัฐศาสตร์ปรากฏอยู่ ทุกส่วน ทุกระดับ ของชีวิตและสังคม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ณัชชาภัทร อุ่นตรงจิตร. (2548). รัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฺฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด.
วิจารย์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น จำกัด.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2543). การจัดประเภทอาชีพตามมาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: กองคลังและข้อมูลสนเทศสถิติ.
กรมการจัดหางาน. การจัดประเภทมาตรฐานอาชีพ (ประเทศไทย). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.doe.go.th/prd/ สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2561.
คนอง วังฝายแก้ว. (2561). การเมืองการปกครองตามแนวพระพุทธศาสนาของพระพรหมคุณาภรณ์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/443121/ สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2561.
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี.(2561). วิวัฒนาการของมนุษย์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/วิวัฒนาการของมนุษย์#cite_note-AusMus-habilis2013-15/ สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2561.