การสร้างแรงจูงใจในการทำบุญโดยผ่านระบบสารสนเทศสมัยใหม่

Main Article Content

รุ่งฤดี บุษย์ชญานนท์
สุชาติ บุษย์ชญานนท์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจการทำบุญของชาวพุทธโดยผ่านระบบสารสนเทศสมัยใหม่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการแสวงหาข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ระบบสารสนเทศช่วยในการค้นหาข้อมูลเพื่อนำมาตัดสินใจในการทำบุญ ซึ่งจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือช่วยให้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการค้นหาการทำบุญในพระพุทธศาสนาและสถานที่ๆ จะไปทำบุญได้อย่างรวดเร็ว

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณะกรรมการแผนกตำรา. (2529). พระธัมมปทัฎฐกถา แปล ภาค 3. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.
ฐิตวณฺโณ ภิกฺขุ. (2528). ตายแล้วไปไหน. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.
ปิ่น มุทุกันต์. (2535). แนวสอนธรรมะตามหลักสูตรนักธรรมตรี. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
________. (2540). ไอที ภายใต้วัฒนธรรมแห่งปัญญา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระธรรมธีรราชมหามุนี. (2536). มงคล 38. กรุงเทพฯ: การพิมพ์พระนคร.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2558). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: ธรรรมทานกุศลจิต.
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ). (มปป.). งานคือชีวิต ชีวิตคืองานบันดาลสุข. กรุงเทพฯ: บันลือธรรม.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย .กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2537). พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสยามรัฐ .กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย
________. (2535). สุมงฺคลวิลาสินี นาม ทีฆนิกายฏฐกถา ปาฎิกวคฺควณฺณนา (ตติโย ภาโค),กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎกสาหรับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.