มนุษย์ตามแนวสังคมศาสตร์

Main Article Content

พระครูสุธรรมกิจโกศล สุพัฒน์

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์ตามแนวสังคมศาสตร์ โดยใช้การศึกษาภาคเอกสารเป็นหลัก ผลการศึกษาพบว่า มนุษย์เราได้พยายามรวมกลุ่มหรือเกาะกลุ่มกันอย่างเหนี่ยวแน่นเพื่อความอยู่รอดหรือเพื่อมิให้ขาดสายพันธุ์หรือเผ่าพันธุ์ชาติของมนุษย์ ดังที่นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาค้นคว้ากันว่า มนุษย์ตามประวัติศาสตร์พวกเขาพากันดำเนินวิถีชีวิตกันอย่างไร อยู่กันแบบไหนหรือช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างไรโดยทางประวัติศาสตร์ เขาบันทึกกันไว้อย่างไร ใช้อะไรเป็นหลักฐานในการบันทึกให้อนุชนได้ทราบประวัติความเป็นมาบ้างและเริ่มแรกที่เดียวนั้นสิ่งมีชีวิตซึ่งอุบัติขึ้นมาแล้ว พวกเขาช่วยกันแก้ปัญหากันอย่างไร โดยเฉพาะปัญหาแรก คือ ปัญหาเกี่ยวกับอาหาร ปัญหาเครื่องนุ่งห่ม ปัญหาที่อยู่อาศัยและปัญหาการเจ็บไข้ได้ป่วย เป็นต้น ปัจจัยอันเป็นพื้นเหล่านี้ สิ่งมีชีวิตจะต้องประสบและแก้ไข สิ่งมีชีวิตเหล่าไหน แก้ปัญหาไม่ได้ก็จำเป็นจะต้องสูญเผ่าพันธุ์ไปโดยปริยายดังประวัติศาสตร์ที่เราได้ศึกษามาแล้วอาจจะเป็นจริงหรือไม่จริงได้ทั้งสองประการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับศรัทธาของผู้ศึกษาเท่านั้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มูลนิธิชุดโลกสีเขียว. (2537). มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: ไทยอินโพคอนลิเกท จำกัด.
สุพิศวงศ์ ธรรมพันทา. (2543). มนุษย์กับสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภูมิไทย.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2546). การเมือง. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2542). ปรัชญาการเมือง. (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: ม.สุโขทัยธรรมาธิราช.