นโยบายการป้องกันและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

ณรงค์ ภูเยี่ยมจิตร
วรภูริ มูลสิน

บทคัดย่อ

บทความนโยบายการป้องกันและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้ง และ 2. เพื่อศึกษานโยบายการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในอำเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี
ผลการวิจัยพบว่า
1. การป้องกันการทำลายชีวิตทารกในครรภ์ และป้องกันมิให้หญิงที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ต้องไปทำแท้งกับหมอเถื่อนดังนั้น ความมุ่งหมายของการมีความผิดฐานนี้ น่าที่จะขยายขอบเขตไว้มากกว่าเดิม เพราะหากกฎหมายมุ่งหวังผลในภายหน้า หญิงที่ตั้งครรภ์ก็กล้าที่จะไปหาหมอจริงมากกว่าหมอเถื่อน ในเรื่องนโยบายเกี่ยวกับสาธารณสุขของประเทศไทย ควรจะมีการแก้ไขกฎหมาย เกี่ยวกับการทำแท้ง ที่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมปัจจุบัน
2. รัฐบาลควรมีนโยบาย คุ้มครองเด็กผู้หญิง และผู้ตั้งครรภ์เป็นศูนย์กลาง ให้ความเคารพและคุ้มครอง ความเป็นเจ้าของตัวเอง ศักดิ์ศรี ความเป็นส่วนตัว และความจำเป็นในเรื่องเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ และรับประกันสิทธิมนุษยชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

การเมือง. (2561). ตะลึงข้อมูล 10 ปีแม่วัยรุ่น 10-17 ปีตั้งท้องกว่า 5 แสนราย วัยใส 10-14 ปีตั้งท้อง 2559. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ราย เข้าถึงได้ที่ https://voicetv.co.th/read/1XRJ4-II9)
เกียรติยศ ขวัญเซ่ง. (2555). ปัญหาในทางกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้ง. การค้นคว้าอิสระนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิภาพร เนติจิรโชติ. (2559). มาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมสำหรับการทำแท้ง. ดุษฎีนิพนธ์นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ไอลอร์. (2559). ยุติการตั้งครรภ์ด้วยการใช้ยาอย่างปลอดภัย อีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้หญิงไม่พร้อม. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 เข้าถึงได้ที่ hggps://ilaw.or.th/node 4297
New York Times. (2018). Thousands of Women Have Shared Abortion Stories With New York Times. Retrieved 12 February 2018 from www.nytimes.com2019/05/15/style/busy- philipps-abortion-youknowme.html.