การบริหารเวลา : บริหารจัดการอย่างไรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Main Article Content

หัฏฐกรณ์ แก่นท้าว

บทคัดย่อ

การบริหารเวลา คือ การรู้จักวางแผนและจัดสรรเวลาในการทำงานอย่างถูกต้อง เหมาะสม ซึ่งไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นนักบริหารเท่านั้นที่จะสามารถบริหารเวลา ทุกคนก็สามารถทำได้เพียงแต่ต้องรู้จักที่จะแบ่งเวลา โดยจัดสรรเวลาของตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวันเวลาที่กำหนดและการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเวลาและวัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในงานหน้าที่ที่รับผิดชอบ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). บริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2546). การเพิ่มมูลค่าเวลา. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

ปราชญา กล้าผจัญ. (2543). 88 ลู่ทางสู่ความสำเร็จของนักบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2542). การศึกษาทางเลือก สู่วิวัฒน์หรือวิบัติในโลกยุคโลกไร้พรมแดน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2537). ประมวลสาระชุดวิชา การบริหารทรัพยากรการศึกษา หน่วยที่ 13-15.

นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ประดิษฐ์ พิเสฎฐศลาศัย. (2551). การใช้เวลาในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาใน

จังหวัดอุดรธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สถิต กองคำ. (2542). เอกสารคำสอนรายวิชาเทคนิคการบริหารการศึกษา. นครราชสีมา: สถาบันราชภัฏนครราชสีมา.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. เทคนิคการบริหารเวลากับการสร้างสมดุลของชีวิต. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.siamhrm.com/สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563.

Alec. M. R. (1990). The Time Trap. New York: Amacom.

Jones. K. (1999). Time Management. New York: Amacom.