บทบาทผู้ประกอบการด้านการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

วันทนา เนาว์วัน
แสงจิตต์ ไต่แสง

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทผู้ประกอบการด้านการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิธีวิจัยเชิงปริมาณ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฎิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประธานและเจ้าหน้าที่ทุกระดับชั้นที่ปฎิบัติงานในธุรกิจชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 152 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.965 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า ด้านการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชน พบว่า โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทั้งหมด  ลำดับแรก คือ การเผชิญความเสี่ยง ได้แก่ การหาแหล่งการจำหน่ายสินค้าที่หลากหลาย  ความต้องการประสบความสำเร็จ ได้แก่ การบริหารจัดการที่ดีเกี่ยวกับธุรกิจ  และความเป็นอิสระ ได้แก่ การจัดหาและการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05   

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรศักดิ์ อุ่นอารมณ์เลิศ, จุรีวรรณ จันพลา, ทิพย์วรรณ สุขใจรุ่งวัฒนา, สัมพันธ์ สุกใส และ วาสนามะลินิน. (2558). การพัฒนารูปแบบการสร้างนวัตกรรมภูมิปัญญาเศรษฐกิจพอเพียง.วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 7(2), 79-92.

นุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัติ และคณะ. (2554). ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

บุญฑวรรณ วิงวอน. (2555). การเป็นผู้ประกอบการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง .

ปุณฑริกา สุคนธสิงห์ . (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของกลุ่มอาชีพ : กรณีศึกษากลุ่มอาชีพผลิตภัณฑ์จากผ้า ในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

ศุภชัย เหมือนโพธิ์ และ ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ. (2561). การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการชุมชน ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย,10(1), 131-144.

สมคิด บางโม. (2555). การเป็นผู้ประกอบการ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เอส เค.บุ๊คส์.

แสงจิตต์ ไต่แสง. (2561). การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เพื่อแก้ไขปัญหาการสร้างเครือข่ายภารกิจชุมชน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 1-8.

Allen, K. R. (2006). Launching New Ventures: An Entrepreneurial Approaching. (4th ed). Boston: Houghton Miffiin.

Dess, G. G., Lumpkin, G. T., & Taylor, M. L. (2005). Strategic Management: Creating Competitive Advantage. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Longenecker, J. G., Moore, C. W.,& Petty, J. (1994). Small Business Management – An Entrepreneurial Emphasis Small Business Management. New York: J.W. South Western.

Rissal, R. (1992). A Study of the Characteristics of Entrepreneurs in Indonesia. Indonesia: George Washington University.

Tabtim, T. (2013). Country or City?: Rural Thailand. Journal of Sociology and Anthropology. 32(2), 152-153.

Volker, K. l. (2003). Competency Requirements of Purchasing and Supply Management Professionals for the Beginning of The 21st Century. (Ph.D. Dissertration). Walden University.

Wiratchnipawan, W. (2010). Management in the Moral of the Community. Bangkok: Odeon Store.

Hoyer, W. D, & MacInnin, D. J. (2010). Customer Behavior. (5th ed.). Ohio: South-Western Cengage Learning.