เมตตา : ในฐานะเครื่องมือเพื่อความปรองดองแห่งชาติ

Main Article Content

พระอธิการเวียง กิตฺติวณฺโณ

บทคัดย่อ

โลกทุกวันนี้มีคนอาศัยอยู่มาก มีหลายเชื้อชาติหลายศาสนาแตกต่างกันไปซึ่งทุกคนล้วนมีความคิด ความเห็นที่ตรงกันบ้าง ไม่ตรงกันบ้างหลาย ๆ ปัญหาในโลกใบนี้เกิดจากการที่คนเรานั้นขาดเมตตาธรรมต่อกันเมื่อคนเราขาดเมตตาธรรมแล้วก็ทำให้เป็นคนไม่มีศีล มีความเห็นแก่ตัว เอารัดเอาเปรียบ เป็นต้น เป็นผลที่ส่งให้เกิด ปัญหาด้านต่าง ๆ ก่อให้เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคมโลกเป็นต้น จึงจำเป็นที่จะต้องนำเอาหลักธรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงของศาสนาเพื่อเอามาใช้แก้ไขปัญหาเหล่านี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาวิทยาลัยมหาจุฬลงกรณราชวิทยาลัย.(๒๕๓๙.) พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
พระพุทธโฆสาจารย์เถระ รจนา. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) แปลและเรียบเรียง.คัมภีร์วิสุทธิมรรค. (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนาเพรส จำกัด.
ตชิ นัท อันห์.(๒๕๔๓). เมตตาภาวนา คำสอนว่าด้วยรัก. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระพรหมมังคลาจารย์.(๒๕๕๒). (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ) .อยู่กันด้วยความรัก. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบันลือธรรม.
พระมหาบัญชา สสมฺปนฺโน (ผาติวโรดม). “การศึกษาวิเคราะห์หลักเมตตาธรรมในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทกับพระคัมภีร์คริสตธรรม.(๒๕๕๔). ”.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตมหาวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาบุญเรียน ปภงฺกโร (พิลาพันธุ์). (๒๕๔๒). “การศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดเรื่องเมตตาในพุทธปรัชญา เถรวาท”วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกณณราชวิทยาลัย.