ชุดความรู้เกี่ยวกับอดีตทางวัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ์จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

ธันยพงศ์ สารรัตน์
คนึงชัย วิริยะสุนทร
สาคร แก้วสมุทร์

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาชุดความรู้เกี่ยวกับอดีตทางวัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ์จังหวัดศรีสะเกษผ่านกรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 5 แห่ง คือ (1) พิพิธภัณฑ์วัดบ้านสร้างเรือง (2) พิพิธภัณฑ์หอจดหมายเหตุและห้องสมุดจังหวัดศรีสะเกษ (3) พิพิธภัณฑ์ชนเผ่าศรีสะเกษ (เกาะกลางน้ำ) (4) พิพิธภัณฑ์บ้านขุนอำไพพาณิชย์ และ (5) พิพิธภัณฑ์วัดสระกำแพงใหญ่ โดยได้จากการศึกษาเอกสาร การสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึกผลการศึกษาพบว่าชุดความรู้เกี่ยวกับอดีตทางวัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ์จังหวัดศรีสะเกษมี 2 ประการ คือ 1) ศรีสะเกษในบริบทความเป็นไทยภายใต้ชุดความรู้ทางวิชาการประวัติศาสตร์และโบราณคดี และ 2) ท้องถิ่นศรีสะเกษในอดีตผ่านวิถีชีวิตชนชั้นนำหรือสามัญชนโดยเฉพาะวิถีชนบท อันมีทั้งแบบวิถีชีวิตทั่วไปกับเน้นเฉพาะส่วนที่ขายได้โดยใช้วิธีการนำชุดความรู้พื้นบ้านมาใช้ตามที่คนในชุมชนรับรู้หรือผ่านการปรับให้เป็นข้อมูลทางวิชาการ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมศิลปากร. (2517). ประวัติศาสตร์กับงานพิพิธภัณฑ์. กรุงเทพฯ: กรมฯ.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จังหวัดศรีสะเกษ. (2552). ศรีสะเกษ. มปท.: มปพ..
จรัส พยัคฆราชศักดิ์. (2536). การศึกษาเรื่องของท้องถิ่น. มหาสารคาม: ภาควิชาประวัติศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
ชาตรี ประกิตนนทการ. (2547). คณะราษฎร์ฉลองรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มติชน.
ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี. (2550). วาทกรรมพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในสังคมไทย : ศึกษากรณีพิพิธภัณฑ์ในภาค
อีสาน. วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธันยพงศ์ สารรัตน์; และคณะ. (2561). การจัดการพิพิธภัณฑ์วัดบ้านสร้างเรือง อำเภอเมืองฯ
จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารโพธิวิจัย วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ, 2(2), 91 – 123.
ธันยพงศ์ สารรัตน์; และชำนาญ โสดา. (2561). การสื่อความหมายพระธาตุเรืองรองเป็นแหล่งเรียนรู้
ทางวัฒนธรรม. นครปฐม: รวมบทคัดย่อการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครปฐม วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน
2561.
ธันยพงศ์ สารรัตน์; และคณะ.(2562). การจัดการพิพิธภัณฑ์อย่างสร้างสรรค์เพื่อการท่องเที่ยวทาง
วัฒนธรรมในจังหวัดศรีสะเกษ. ร้อยเอ็ด: การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัย
ระดับชาติ ครั้งที่ 2 : ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ตามหลักพุทธศาสตร์ พัฒนาชาติ
อย่างมั่นคง ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด อำเภอเมืองฯ
จังหวัดร้อยเอ็ด วันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม 2562.
ธันยพงศ์ สารรัตน์; และคณะ. (2562). ภาพสะท้อนสังคมท้องถิ่น : กรณีศึกษาภาพเขียนฝาผนัง
ภายในองค์พระธาตุเรืองรองจังหวัดศรีสะเกษ. สุรินทร์: การประชุมวิชาการระดับชาติ
“ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 10” : วิจัยและนวัตกรรมนำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ณ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุรินทร์
วันที่ 19 – 20 กันยายน 2562.
ธันยพงศ์ สารรัตน์; และคณะ. (2562, มกราคม – มิถุนายน) การจัดการพิพิธภัณฑ์บ้านขุนอำไพ
พาณิชย์. วารสารมนุษย์กับสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. 5(1) : 4-13.
ธันยพงศ์ สารรัตน์. (2563). พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกับการสร้างองค์ความรู้เรื่องอดีตของเมืองศรีสะเกษ.
บทคัดย่อการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 1 ณ พิพิธภัณฑ์
ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563.
ธันยพงศ์ สารรัตน์ และคณะ (2562) เรื่อง “การศึกษาอิทธิพลของต่างประเทศจากสถาปัตยกรรมใน
เมืองศรีสะเกษ ระหว่างพ.ศ.2468 – 2537 : กรณีศึกษาบ้านขุนอำไพพาณิชย์”นครปฐม:
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม วันที่ 3 - 4ธันวาคม 2562.
ธนานนท์ ลาโพธิ์. (2555). พิพิธภัณฑ์ชนเผ่าจังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรม
ศาสตร์บัณฑิต. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิเนตร ดาวเรือง; นครินทร์ ทาโยธี; และปรัสนพงษ์ ภูเกิดพิมพ์. (2550).
วิเคราะห์สถานภาพพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31(2), 1-12.
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2553). วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์.
วุฒิชัย นาคเขียว; และศิริวุฒิ วรรณทอง. (2562). วัดพระธาตุเรืองรองกับการเผยแพร่แนวคิด
ชาตินิยมในอีสานใต้ พ.ศ.2510 จนถึงปัจจุบัน.สุรินทร์: การประชุมวิชาการระดับชาติ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 2 จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วันที่ 22-23
สิงหาคม 2562.
ศักดิ์ชาย สิกขา. (2548). รายงานผลการดำเนินงานโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม : โครงการ
ออกแบบและพัฒนาพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านในภาคอีสาน. อุบลราชธานี: คณะศิลปะประยุกต์
และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ. (2561). พิพิธภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ:
สถาบันฯ.
สภาวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ; และสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ. (2548). ประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาอันเป็นเอกลักษณ์จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: สำนักงาน
วัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ.
สุมิตรา กอบกิจสุขสกุล. (2531). การประกวดนางสาวไทย (พ.ศ.2477 – 2530). วิทยานิพนธ์ศิลปศา
สตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
หลวงปู่ธัมมา พิทักษา, เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. ธันยพงศ์ สารรัตน์, เป็นผู้สัมภาษณ์. ณ วัดบ้านสร้างเรือง
อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ, วันที่ 11 พฤศจิกายน 2562.
หอการค้าจังหวัดศรีสะเกษ. (2562). เอกสารแนะนำจังหวัดขุขันธ์. ศรีสะเกษ: หอการค้าฯ.
อภินันท์ สงเคราะห์. (2550). โครงการอบรมเรื่องการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ. อุบลราชธานี:โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
อรทัย อัยยาพงษ์. (2554). การศึกษารูปแบบการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์พระธาตุเรืองรอง ตำบลหญ้า
ปล้อง อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระศิลปะศาสตร
บัณฑิต. คณะศิลปศาสตร์: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
2. สัมภาษณ์
ประดิษฐ ศิลาบุตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร., เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. ธันยพงศ์ สารรัตน์, เป็นผู้สัมภาษณ์.
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, วันที่ 11 พฤศจิกายน 2562.
รัตนะ ปัญญาภา, รองศาสตราจารย์ ดร., เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. ธันยพงศ์ สารรัตน์, เป็นผู้สัมภาษณ์. ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, วันที่ 3 เมษายน 2563.
สุมาลี ช.วรุณชัย, เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. ธันยพงศ์ สารรัตน์, เป็นผู้สัมภาษณ์. ณ บ้านขุนอำไพพาณิชย์
1166 ถนนอุบล ตำบลเมืองใต้ อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ, วันที่ 16 ตุลาคม 2562.