แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

Main Article Content

สุภัคชัย ดำสีใหม่
ไพรัตน์ ฉิมหาด
เดโช แขน้ำแก้ว

บทคัดย่อ

แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุนับว่าเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าครอบครัวและบุตรหลานญาติมิตรจำเป็นที่จะต้องให้การดูแลและยกย่องเชิดชู ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและอารมณ์ด้วยการจัดให้มีโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความรู้ให้แก่ผู้สูงอายุหรือโครงการที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนความรักใคร่ ความสามัคคีกันในครอบครัว เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับสถาบันครอบครัวในการรับมือกับสังคมผู้สูงวัยในอนาคต ทั้งนี้ต้องมีการจัดการสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุและต้องมีการจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุให้เป็นระบบ อีกทั้งรณรงค์และสนับสนุนการสร้างหลักประกันความมั่นคงทางด้านรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ มีการออมเงินเพื่อสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวิตหลังเกษียณ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและสิทธิจากนโยบายต่าง ๆ ของภาครัฐ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2561). ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ ประจำปี พ.ศ.2561-2580 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2564). วางแผนการเงินหลังเกษียณให้มีใช้ไม่ขัดสน. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.dop.go.th/th/know/15/826.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2564). BIG DATA กับการยกระดับและพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้สูงอายุไทย. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.dop.go.th/th/gallery/1/1472.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2564). กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก http://www.dop.

go.th/download/formdownload/th1573807463-827_0.pdf.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2558). แนวทางการดูแลทางด้านจิตใจของผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร : กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

กรมสุขภาพจิต. (2564). ก้าวย่างของประเทศไทย “สู่สังคมผู้สูงอายุ” อย่างสมบูรณ์แบบ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30476.

กัญญาณัฐ ไฝคำ. (2561). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, 7(2), 19-26.

จักรพงษ์ เกเย็น. (2554). คุณภาพชีวิตผู้อยู่อาศัยในชุมชนของการเคหะแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร: ศึกษากรณี โครงการเคหะชุมชนทุ่งสองห้องอาคารแฟลตเช่า. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม). กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

จิราพร ไชยเชนทร์. (2555). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในตำบลท่าทองใหม่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สุราษฎร์ธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

เจนจิราภรณ์ นามโคตร. (2564). ชีวิตและครอบครัวศึกษา. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://sites.google.com/site/ann5481136701/bth-thi4chiwit-laea-khrxbkhraw-suksa/4-2kar-srang-serim-samphanthphaph-thi-di-ni-chiwit-khrxbkhraw-laea-sangkh.

เดชา บุญมาสุข. (2558). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน. (วิทยานิพนธ์พุทธศาตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เปลว สีเงิน (นามแผง). (2564). สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.thaipost. net/main/detail/103356.

พระครูภัทรปัญญาคุณ (เวียง แซ่อุ้ย). (2560). การศึกษาความต้องการได้รับสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขต เทศบาลตำบลหัวไทร อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปิฎก หมวดศึกษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

พระเอกพล กิตฺติปญฺโญ (กันทะยวง). (2560). การพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเสริมสร้างความสุขของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

เพ็ญณี กัณตะวงษ์ แนรอท และณรงค์ เกียรติคุณวงศ์. (2562). การดูแลผู้สูงอายุ บทเรียนจากเมืองโกเบ, มูลนิธิคอนราด อาเคนาวร์. ขอนแก่น : วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ลัดดา บุญเกิด. (2557). ความต้องการด้านสวัสดิการของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลเกาะจันทร์ อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี. (ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป). มหาวิทยาลัยบูรพา.

วันชัย ชูประดิษฐ์. (2555). การศึกษาความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่. (การค้นคว้าปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

วิลาวัลย์ รัตนา. (2552). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพและการสนับสนุนทางสังคมกับคุุณภาพชีวิตผู้สูงอายุชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี. (สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2556). คุณภาพชีวิตการทำงานและความสุข. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม. (2558). การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

สุรพงษ์ มาลี. (2561). ภาครัฐกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย. วารสารข้าราชการ, 60(4), 10-11.

อนรรฆ อิสเฮาะ. (2562). คุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา. (สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อำนาจ เจริญสุข. (2557). การพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 6 จังหวัดนครสวรรค์. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.