การเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ ตามแนวพระพุทธศาสนา

Main Article Content

พระมหายุทธพิชาญ ทองจันทร์
เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร
วันชัย ชูศรีสุข

บทคัดย่อ

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้มีนิยามความหมายของ สุขภาพหรือ สุขภาวะ (Wellbeing) ไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2491 ว่า สุขภาพคือ “ภาวะแห่งความสมบูรณ์พร้อมของร่างกาย จิตใจ และสังคม และมิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การไม่เป็นโรคหรือทุพลภาพเท่านั้น” (Health is a state of complete physical, mental and social well-being, and not merely the absence of disease or infirmity)และในปี พ.ศ. 2526 ได้มีการพยายามเสนอให้เพิ่ม “สุขภาวะทางจิตวิญญาณ” เข้าในคำจำกัดความคำว่าสุขภาพขององค์การอนามัยโลกอย่างเป็นทางการ โดยสมาชิกจากประเทศในภูมิภาคจากเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก โดยข้อเสนอดังกล่าวมีทั้งผู้เสนอและคัดค้าน จนในที่สุดคณะกรรมการบริหารขององค์การอนามัยโลก มีข้อยุติให้ปรับปรุงคำจำกัดความของคำว่า สุขภาพจากเดิมเป็น “สุขภาวะที่สมบูรณ์อย่างมีพลวัตรทั้งร่างกาย จิตใจจิตวิญญาณ และสังคม โดยมิได้หมายความเพียงปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น” อย่างไรก็ดีข้อเสนอดังกล่าวยังไม่มีการยอมรับเป็นมติของสมัชชาอนามัยโลกในขณะนั้นแต่ต่อมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก ได้ยอมรับและมีมติให้เพิ่มคำว่า “Spiritual well-being” หรือสุขภาวะทางจิตวิญญาณเข้าไป ในคำจำกัดความของสุขภาพเพิ่มเติมแสดงถึงมุมมองที่กว้างขวางหลากหลายของสุขภาพที่มากขึ้น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุ,2541:2)

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2535).พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข.(2541) นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ ฉบับปรับปรุง, นนทบุรี : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

พระธรรมโมลี (ทองอยู่ ญาณวิสุทฺโธ).(2550). “การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องสุขภาพแบบองค์รวมในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับแนวคิดตะวันตก”,พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต,บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2548). “สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ”, พุทธจักร, ปีที่ ๕๙ ฉบับที่ ๑๑ กรุงเทพ:,มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กระทรวงสาธารณสุข,พ,ร,บ, สุขภาพแห่งชาติพ.ศ.๒๕๕๐.(2550).กรุงเทพมหานคร : ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่๒๕ (๑๒๔)ตอนที่๑๖ ก,.

ประเวศ วะสี,”สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์”, หมออนามัย, ปีที่ ๙ฉบับที่ ๖.(2543).กรุงเทพฯ: หมออนามัย.

ประเวศ วะสี. (2548).การจัดการความรู้ : กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพและความสุข, กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.(2561). สุขภาพคนไทย 2561 : พุทธศาสนากับการสร้างเสริมสุขภาวะ,นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุจริต สุวรรณชีพ.(2554).คู่มือความสุข ๕ มิติสำหรับผู้สูงอายุ.กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.

สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.(2554). คู่มือความสุข ๕ มิติสำหรับผู้สูงอายุ,กรุงเทพฯ:กรมสุขภาพจิต.

พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต).(2548). “สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ”, พุทธจักร, ปีที่ ๕๙ ฉบับที่๑๑.กรุงเทพ :มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2546). หลักแม่บทของการพัฒนาตน, พิมพ์ครั้งที่ 15,กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม (ฉบับเดิม), พิมพ์ครั้งที่ 11, (กรุงเทพฯ: ดวงแก้ว, 2544), หน้า 371.

พระพรหมคุณาภรณ์. (ป.อ.ปยุตฺโต).(2546).พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์.กรุงเทพฯ:ธรรมสาร.

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต).(2546).ทุกข์สำหรับเห็น แต่สุขสำหรับเป็น,พิมพ์ครั้งที่ ๙, กรุงเทพฯ: ธรรมสาร จำกัด.

พระไพศาล วิสาโล.(2561). สุขภาวะทางปัญญาที่เราควรรู้จัก.กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

วิภาพร สิทธิสาตร์ และสุชาดา สวนนุ่ม.(2550).พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน เขตความรับผิดชอบของ สถานีอนามัยบ้านเสาหิน ตำบลวัดพริก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, พิษณุโลก:วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช.

ประยุทธ พานิชนอก.(2554).กระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนในการเสริมสร้างคุณค่าภูมิปัญญา ผู้สูงอายุ ชุมชนเทศบาลตำบลบ้านกรวดปัญญาวัฒน์ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

พรทิพย์ สุขอดิศัย และคณะ.(2557). วิถีชีวิตและแนวทางการมีสุขภาวะของผู้สูงอายุในภาคตะวันออก, ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.ชลบุรี:สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

อังชัน จึงสกุลวัฒนา.(2550).ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุวัยท้ายในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี.ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิชัย เสนชุ่ม และคณะ.(2554). ปัจจัยพยากรณ์บทบาทของสมาชิกครอบครัวในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลพะวอ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.กรุงเทพฯ:วารสารการพยาบาลและสุขภาพ.

จีราพร ทองดี และคณะ.(2557). ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดชายแดนภาคใต้.สุราษฎร์ธานี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุราษฎร์ธานี.

ทิพย์วดี เหลืองกระจ่าง.(2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุ". ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสนา), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพงษ์ สังข์กลิ่นหอม.(2560).หลักการของพระพุทธศาสนา และหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาที่นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน.[ออนไลน์].แหล่งที่มา: https://sites.google.com/site/nathphngssangkhklinhxmiom/hlak – kar – khxng – phra-phuthth-sa. (๑๐ กันยายน ๒๕๖๐).

เอกรินทร์ สี่มหาศาล และคณะ.(2545).สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม,พิมพ์ครั้งที่ ๓.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.

ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับการดำเนินชีวิต.[ออนไลน์].แหล่งที่มา : https://sites.google.Com/site/panidaple59/khwam-samphanth-rahwang-sasna-kab-kar-danein-chiwit. (๑๐ กันยายน ๒๕๖๐).

ธนิต อยู่โพธิ์.(2538).วิปัสสนาภาวนา ว่าด้วย วิธีปฏิบัติวิปัสสนาทดสอบรู้ผลด้วยตนเอง, พิมพ์ครั้งที่ ๘,กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.