ธรรมาภิบาล อมตาธรรมสำหรับการบริหาร

Main Article Content

พระมหายุทธพิชาญ ทองจันทร์
สัญญา เคณาภูมิ
วันชัย ชูศรีสุข

บทคัดย่อ

หลักธรรมาภิบาลแม้จะเป็นแนวความคิดที่ใหม่ แต่ก็เป็นแนวความคิดที่ทั่วโลกให้ความสนใจมากแนวคิดหนึ่งในสถานการณ์โลกปัจจุบันดังที่ธนาคารโลกมีข้อสรุปไว้ว่าหลัก Good Governance หรือวิธีการปกครองที่ดีตามศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถานกล่าวว่าแนวความคิดนี้จะเป็นกุญแจที่สำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของบรรดาประเทศต่างๆที่ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจให้กลับคืนสู่สภาวะปรกติมีเสถียรภาพได้อย่างรวดเร็ว องค์ประกอบของธรรมาภิบาลเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกรอบเป้าหมาย วัตถุประสงค์ แนวทางและวิธีปฏิบัติในการดำเนินงานเพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาสังคมให้เป็นสังคมที่เรียกว่าสังคมที่ประกอบด้วยธรรมเป็นสังคมที่ใช้หลักธรรมาธิปไตยเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจในทุกกรณีที่ตนเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง ฉะนั้นในงานวิจัยครั้งนี้จึงได้รวบรวมและสรุปองค์ประกอบต่างๆ ของหลักธรรมาภิบาลที่ปรากฏอยู่ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี : ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 และพระราชกฤษฎีกา : ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 เพื่อนามาเป็นกรอบในเขียนบทความในครั้งนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

สุดจิต นิมิตกุล.(2543). กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี1. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.

ราชกิจจานุเบกษา.(2545). เล่มที่ ๑๑๙ ตอนที่ ๙๙ ก ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕,

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.(2544). “การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี, (Good Governance), รายงานประจาปี ๒๕๔๑- ๒๕๔๓”, กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สุดจิต นิมิตกุล.(2543). กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี, กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์,

เจริญ เจษฎาวัลย์.(2545).การวางมาตรฐานธรรมาภิบาล (Setting good governance standards), กรุงเทพมหานคร: บริษัท พอดี จากัด.

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ.(2545). อ้างใน ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ์. “ธรรมาภิบาลในความหมายของภาครัฐ เอกชนและประชาชน: กรณีโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนถ่านหิน “หินกรูด”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์), บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน กพ.(2545) Good Governance กับการพัฒนาข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงาน.

ราชกิจจานุเบกษา.(2545). เล่มที่ ๑๑๙ ตอนที่ ๙๙ ก ๒ ตุลาคม ๒๕๔๕, หน้า ๑-๒.

ราชกิจจานุเษกษา.(2546). เล่มที่ ๑๒๐ ตอนที่ ๑๐๐ ก ๙ ตุลาคม ๒๕๔๖, หน้า ๒.

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล).(2548). หลักธรรมาภิบาลและประมุขศิลป์. กรุงเทพมหานคร: ชัยมงคลพริ้นติ้ง.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/, [๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗].

ราชกิจจานุเบกษา.(2550). เล่มที่ ๑๒๔ ตอนที่ ๔๗ ก ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.(2542). การสร้างธรรมาภิบาล (Good Governance)สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน กพ.(2545). Good Governance กับการพัฒนาข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงาน.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.(2546). การสร้างธรรมาภิบาล (Good Governance) สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงาน.

พุทธทาสภิกขุ.(2545).การศึกษาของโลกหนังสือชุดหมุนล้อธรรมจักรของพุทธทาส. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวิชิรญาณวโรรส.(2538). พระมงคลวิเสสกถา, พิมพ์ครั้งที่ ๒๑, กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์.(2541). การปกครองแนวพุทธศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื้อม อินฺทปญฺโ).(2549). โชคดีมีโอกาสได้ตามรอยพระยุคลบาทโดยทศพิธราชธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,(2551). ประมวลพระนิพนธ์ฯ พระธรรมเทศนา. “ทศพิธราชธรรมจริยาทิกถา” ถวายในงานพระราชพิธีรัชดาภิเษก เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ร.ศ. ๑๑๒, หน้า ๔๑, อ้างใน ปฐม ตาคะนานันท์, คณะสงฆ์สร้างชาติ สมัยรัชกาลที่ ๕, กรุงเทพมหานคร: มติชน.

สำนักมาตรฐานการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.(2545). คู่มือการจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร:บพิธการพิมพ์, ๒๕๔๕.

วาริลิน วังชัย.(2547). คู่มือแนวทางการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ตามหลักธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการราชการพลเรือน. (ม.ป.ป.), คู่มือการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี. กรุงเทพมหานคร: เสถียรการพิมพ์.

พฤทธิสาณ ชุมพล.(2546). คำและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย (Concept in Contemporary PoliticalScience). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หลักธรรมาภิบาลในการทำงานองค์การบริหารส่วนตำบลพระหลวง, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.govesite.com/praluang/content.php?cid=20170704112821X994KHr, [15 มิถุนายน 2565].