การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน หน่วยการเรียน กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน หน่วยการเรียนรู้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ สำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 3) เปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวนนักเรียน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 2) แบบวัดการคิดอย่ามีวิจารณญาณ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test แบบ Dependent t-test ผลวิจัย พบว่า
- 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน หน่วยการเรียนรู้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ / เท่ากับ 77.38/76.5 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 75/75
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
- การคิดอย่างมีวิจารณญาณที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กนกวรรณ เขียวน้ำชุม. (2563). การพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนบ้านดงน้อยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
กัลยาณี ศรีสุขพันธ์. (2562). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัด การเรียนรู้แบบสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง กรด-เบส. ปทุมธานี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรังสิต.
คิริวรรณ์ ฉัตรมณีรุ่งเจริญและอรยา สมบูรณ์ (2564) การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ไฟฟ้าในบ้าน. คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
จิรัชญา นวนกระโทก. (2560). ผลของการจดัการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดแก้ปัญหา เรื่องอาหารกบัการดา รงชีวติ ของนกัเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพา.จุหาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชวลิต ชูกำแพง. (2553). การวิจัยหลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชุติมา สรรเสริญ. (2560). การพัฒนาความสามารถการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
วราภรณ์ ไทยมิตร. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
วัฒนาพร ดวงตีวงศ์. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดแก้ปัญหาเรื่องวัสดุและสมบัติของวัสดุ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์.ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษด์
วงศ์.ธัชทร โพธิ์น้อย. (2561). การใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ในวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดสองพี่น้อง . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ธัชพล แคล้วคลาด. (2564). การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ระหว่างการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครูของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
บรรจง อมรชีวิน. (2556). Critical Thinking การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลักการพัฒนาการคิดอย่างมีตรรกะเหตุผล และดุลยพินิจ. กรุงเทพ: ภาพพิมพ์.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. มหาสารคาม : อภิชาติการพิมพ์.
พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. (2540). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา PROBLEM-BASED LEARNING. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา
มัณฑรา ธรรมบุศย์. (2545). การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้โดยใช้ PBL (Problem-Based Learning). วารสารวิชาการ, 5(2).
วิไลลักษณ์ โภคาพานิชย์. (2559). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรง การเคลื่อนที่และพลังงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดการเรียนรู้แบบเป็นฐาน. กรุงเทพ ฯ : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ จำกัด.
สุจิตรา การพิสมัย. (2557). การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรีย์วัลย์ พันธุระและสุมาลี ชูกำาแพง. (2561). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐานร่วมกับประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่อง การ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรทัย อาจหาญ. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรมัส วงศ์ไทย (2562). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา.พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อัญชลี พละสูนย์. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการคิดวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. อุบลราชธานี : มหาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
สุนีย์ คล้ายนิล. (2555). การศึกษาวิทยาศาสตร์ไทย : การพัฒนาและภาวะถอถอย. กรุงเทพฯ : แอดวานซ์ พริ้นติ้ง เซอร์วิช.
Amesbury, Judith. (2 0 1 5 ) . Engaging Adult Literacy Learners Through PBL Online. Master's Thesis Ontario : Ontario Institute of Technology University.
Elshafei, Donna L. (2007). A Comparison of Problem-Based and Traditional Learning in for K-12. Alexandria,Virginia : Association for Supervision and Curriculum
Hmelo, C.E & Evensen, D.H. (2000). Introduction Bringing Problem-Based Learning :gaining insight on learning interaction throught multiple methods of onquiry in bringing problem-based a research perspective on learninginteraction. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associathion.
James Bellanca and Ron Brandt. (2010). 21 Century Skills : Rethinking How Students Learn. USA: Solution Tree Press.
Khumato, L.T. (2010). A context-based problem solving approach in grade 8 anualnatural sciences teaching and learning. Thesis Ms.Ed Durban: Universite of Kwazulu – natal.
Krawczyk, Tracie Dianne. (2008). Using Problem-based Learning and Hand on Activities to Teach Meiosis and Heredity in a High School Biology Classroom. Master Abstract international
Tarhan, L, and Acar-Sesen, B. (2013). Problem based learning in acids and bases:Leamning achievements and students' beliefs. Journal of Baltic Science Education.
Wong and Day. (2009). A Comparative Study of Problem-Based and Lecture-Based Learning in Junior Secondary School Science. London : Macmillan.