การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกในผู้เรียน

Main Article Content

อำพร ดัชถุยาวัตร์
ลดาวัลย์ มะลิไทย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกในผู้เรียน เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถ ค่านิยม และเจตคติให้แก่ผู้เรียน ผลลัพธ์ที่เห็นเชิงประจักษ์คือกิจกรรมที่ผ่านการลงมือปฏิบัติของผู้เรียน โดยอาศัยกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่เน้นด้านทักษะกระบวนการ เช่น การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ และแบบอภิปรายกลุ่ม ซึ่งเป็นกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับการส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกของผู้เรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นพลักษณ์ หนักแน่น. (2559). ความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในการเป็นพลเมืองโลก. วารสารเกื้อการุณย์, 23(1), 87-1010.

นิภาพร วรรณลังกา. (2562). การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาเพื่อพัฒนาจริยธรรมพลเมืองโลก.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 15(ธันวาคม), 203-215.

พระวีรศักดิ์ จนฺทวํโส, พระครูวิริยปัญญาภิวัฒน์ และ พระเอกรัตน์ มหามงฺคโล. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการวิชาสังคมศึกษา. วารสารมหาจุฬาคชสาร, 8(2), 85-92.

พิชาติ แก้วพวง. (2563). ศาสตร์การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา (พานิช). (2555). ครูสังคมศึกษากับการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิภาดา พินลา. (2558). สังคมศึกษากับการสร้างความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 15(2), 17-29.

วิภาพรรณ พินลา และวิภาดา พินลา. (2564). การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). สมรรถนะหลัก 6 ด้าน. สืบค้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2566, จาก https://cbethailand.com/.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). รายงานการวิจัย ข้อเสนอตัวชี้วัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก ตามกรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal : SDG 4.7) : กรณีศึกษาแนวทางการส่งเสริมความเป้นพลเมืองโลก (Global Citizen) ประสบการณ์นานาชาติ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟิค.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

สิริวรรณ ศรีพหล. (2554). การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองโลก. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

Oxfam Organization. (2015). Global citizenship in the classroom a guide for teachers. London: Oxfam.