พระธรรมฑูตกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมฑูตในประเทศอินโดนีเซีย เป็นนโยบายภาครัฐบาล ภายใต้ความร่วมมือของฝ่ายสงฆ์ทั้งสองนิกาย ได้จัดส่งพระธรรมทูตไปเพื่อส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย เพื่อให้ชาวอินโดนีเซีย สามารถเข้าใจหลักธรรม และนำไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ได้จริง ในฐานะที่ผู้เขียนเป็นพระธรรมฑูตที่ปฎิบัติหน้าที่ในประเทศอินโดนีเซียอยู่ จึงมีความสนใจที่ต้องการศึกษาในเรื่องนี้ ดังนั้น บทความนี้ จึงมุ่งศึกษาหลักการและแนวคิดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซียของพระธรรมฑูต 6 ด้านสำคัญ คือ 1) ด้านนโยบายการส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 2) ด้านการส่งเสริมการศึกษาของบุคลากร 3) ด้านการส่งเสริมพุทธศาสนิกชน 4) ด้านการจัดการบุคลากร 5) ด้านวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ 6) ด้านการนำหลักธรรมไปปฏิบัติของพระธรรมฑูต ทังนี้เพื่อธำรงดำรงรักษาพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบต่อไปทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยใช้วิธีศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ก. ข้อมูลปฐมภูมิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535.
________. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
ข. ข้อมูลทุติยภูมิ
(1) หนังสือ:
กรมการศาสนา. (2540). หนังสือคู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎระเบียบ และคำสั่งของคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.
ฉวีมณฑ์ สุขไพบูลย์. (2553). การประยุกต์แนวคิดการตลาดเพื่อสังคมในการเผยแผ่ธรรมะกรณีศึกษา : พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยบริการ.
บุญศรี พานะจิตต์. (2545). ความสำเร็จในการปฏิบัติภารกิจของวัด : ศึกษาเฉพาะกรณีวัดสวนแก้ว อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระมหาเรวัตร์ ผมหอม และคณะ. (2566). สมรรถนะของพระธรรมทูตเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพื้นที่ชายแดนไทย-เมียนมา. วารสารพุทธจิตวิทยา. ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2566): 456-457.
พระครูสุธรรมธวัชชัย และพระครูสิริสุตานุยุต. (2565). กลยุทธ์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศนอร์เวย์ของพระธรรมทูตไทย. วารสารปรัชญาปริทรรศน์. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2565): 245.
พระสมชาย สํวโร (สุขวินัย), ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม และพระราชวิมลโมลี. (2565). ผลสำเร็จของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมทูตในอำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. วารสารมหาจุฬาคชสาร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2565): 75.
พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร). (2563). การบริหารการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักพุทธธรรม. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 65.
วศิน อินทสระ. (2536). สำนักเสริมสร้างวินัยและรักษาคุณธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ.
สิริลักษณ์ ศรีจินดา. (2553). การใช้วาทศิลป์ทางภาษาเพื่อการเผยแผ่ธรรมะของพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี ผ่านสื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(2) ภาษาอังกฤษ
Phrasasanasobhana. R. (1970). Social Security in Japan.Tokyo: National Institution of Population and Social Security Research.