ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล ประเทศไทย 4.0

Main Article Content

องอาจ สิมเสน
รัชนี จรุงศิรวัฒน์
พระฮอนด้า เข็มมา

บทคัดย่อ

        กระบวนทัศน์การพัฒนาทางการศึกษาภายใต้ประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21 เป็นจุดเริ่มต้นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีการขับเคลื่อนไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน อย่างเป็นรูปประธรรมเป็นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างการวิจัยและการพัฒนาการศึกษาภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การแบ่งปันความรับผิดชอบและการให้คุณค่าการมีคุณธรรมมีหลักธรรมาภิบาลและการเรียนรู้ทักษะศตวรรษที่ 21 การสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในองค์กรจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องใช้ทั้งเทคนิคในการบริหารจัดการ (Management) และความเป็นผู้นำ(Leadership) เพื่อนำพาองค์กรสู่ความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงได้สถานศึกษา ทั้งนี้การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษาของสถานศึกษาจำเป็นต้องอาศัยผู้นำที่มีวิสัยทัศน์เชิงนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนวัตกรรม โดยการบริหารจัดการสถานศึกษายุคใหม่จะต้องนำไปสู่นวัตกรรม 3 ด้าน ได้แก่ นวัตกรรมการจัดการ นวัตกรรมการทำงาน และนวัตกรรมการนำ 


 


 

Article Details

How to Cite
สิมเสน อ. ., จรุงศิรวัฒน์ ร. ., & เข็มมา พ. (2020). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล ประเทศไทย 4.0. Journal of Modern Learning Development, 5(3), 317–327. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/article/view/242395
บท
บทความวิชาการ

References

เกษม เมษีนทรีย์. (2559). ยุทธศาสตร์และการปฏิรูปสู่การเป็นไทยแลนด์ 4.0. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

ณัฐพร เห็นเจริญเลิศ และคณะ (2559). ขอบแดนใหมแห่งการเรียนรู้ : การศึกษาระบบ 4.0. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุสรา สุวรรณวงศ์.(2559). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม Innovative Leadership.

ออนไลน์.สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2563.แหล่งที่มา: https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52233/-edu-tea artedu-teaart-teaartdir-