Innovative Leadership of School Administrators
Main Article Content
Abstract
บทความวิชาการนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอองค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่ามีองค์ประกอบ 4 ประการคือ 1) วิสัยทัศน์เชิงนวัตกรรม 2) การสร้างเครือข่ายเชิงนวัตกรรม 3) การสร้างบรรยากาศเชิงนวัตกรรม 4)การคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม ซึ่งผู้เขียนบทความวิชาการได้สังเคราะห์จากแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ผลงานวิชาการของนักศึกษา นักวิชาการมาพิจารณาความสำคัญ และสอดคล้องกับบริบทของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งเป็นองค์กรหลักที่หน่วยงานที่มีส่วนสำคัญในการจัดการศึกษาให้กับเด็กเยาวชนและกลุ่มประชาชน รัฐบาลได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากำลังคนสู่ยุคดิจิทัลหรือยุคของการนำนวัตกรรมใหม่ๆมาใช้ เพื่อเพิ่มศักยภาพกำลังคนให้ก้าวกันกับยุคสมัยใหม่ และให้มีทักษะการนำนวัตกรรมมาใช้เบื้องต้น ผู้บริหารสถานศึกษา จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการปรับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ เพื่อบริหารรูปแบบใหม่ จึงต้องอาศัยภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้นก้าวทันโลกยุค 4.0 ได้มากยิ่งขึ้น
Article Details
References
จันทนา แสนสุข. (2557). ปัจจัยที่เป็นเหตุและผลของความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ขสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย. 19 (1), 34-46.
พยัต วุฒิรงค์. (2557). การจัดการนวัตกรรม: ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2547). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.
เสน่ห์ จุ้ยโต. (2548). การบริหารนวัตกรรมแนวใหม่. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมพงษ์ สุวรรณจิตกุล. (2552). องค์กรแห่งการสร้างนวัตกรรม: องค์กรชั้นนำต่างๆ เปลี่ยนแปลงตัวเองได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: เอเอสทีวีผู้จัดการ.
อรอนงค์ โรจน์วัฒนบูลย์. (2553). การพัฒนาตัวแบบผู้นำเชิงนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เอกราช โฆษิตพิมานเวชและคณะ (2565). ภาวะผู้นำแบบยั่งยืนของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน สังกัด
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่น. วารสารบัณฑิตมหาจุฬาขอนแก่น. 6 (3), 634-644.
Adjei, D. (2013). Innovation leadership management. International Journal of ICT and
Management. 1, 103-106.
Carmeli, A., Gelbard, R., & Gefen, D. (2010). The importance of innovation leadership in
cultivating strategic fit and enhancing firm performance. The Leadership
Quarterly. 21, 339-349.
Horth, D. (2014). Innovation leadership: How to use innovation to lead effectively, work
collaboratively, and drive results. Greensborough, NC: Center for Creative
Leadership.
Hunter, S. T., & Cushenbery, L. (2011). Leading for innovation: Direct and in directin fluences. Advances in Developing Human Resources, 13, 248-265.
Imaginnationcomau. (2016). 8 resons why innovation is impotant to businesses today .Imagine Nation. Online. Retrieved from http://www.imaginenation. com.au/ innov ation-blog/8-reasons-innovation-important-businesses-today/.
Jansen, J. J. P., Van den Bosch, F. A. J., & Volberda, H. W. (2006). Exploratory innovation, exploitative innovation, and performance: Effects of organizational antecedents and environmental moderators. Management Science, 52, 1661−1674.
Loader, A. (2016). Why should you show innovative leadership? Online. Retrieved fromhttps:// blog. castle.co/innovative-leadership.
Robert, F. B., & Jeff, Z. (2010). Leadership vacuums and overcoming barriers to innovati on. Retrieved from http://www.business-strategyinnovation.com/ 2010 /04 /leader ship-vacuums-and-overcoming.html.
Van de Ven, A. H., & Chu, Y. (1989). A psychometric assessment of the Minnesota
InnovationSurvey. In A. Van de Ven, H. Angle, & M.S. Poole (eds.), Research on
the Management of Innovation: The Minnesota Studies, New York: Harper & Row, 55-103.
Weiss, S. D. & Legand, P. C. (2011). Innovative intelligence. Ontario: John Wiley & Sons.