การใช้แนวคิดภาพร่างอธิบายความหมายของคำบุพบทแสดงพื้นที่ “in”: กรณีศึกษาจากคลังข้อมูลเทียบบท

Main Article Content

วิไลวรรณ อรุณมานะกุล

Abstract

บทความนี้อธิบายลักษณะความหมายของคำบุพบทแสดงพื้นที่ในภาษาอังกฤษ “in” ด้วยการใช้แนวคิดภาพร่าง (image schemas)  ผลการศึกษาพบว่าคำบุพบท “in” มีความหมายแสดงพื้นที่ที่สามารถอธิบายเป็นภาพร่างได้ 8 ลักษณะ  ประกอบด้วยความหมายที่ไม่มีนัยยะการเคลื่อนที่ 5 ลักษณะ และความหมายที่มีนัยยะของการเคลื่อนย้ายที่ 3 ลักษณะ ในส่วนของการเกิดร่วมกับคำนามหลังบุพบทหรือ “landmark” พบว่า “in” สามารถปรากฏในปริบทร่วมกับลักษณะที่แสดงพื้นที่เป็นสามมิติหรือสองมิติ หรือลักษณะที่ไม่แสดงมิติของพื้นที่ชัดเจนก็ได้ นอกจากนี้ยังพบว่าองค์ประกอบส่วนอื่นในประโยคซึ่งได้แก่คำกริยา มีผลต่อการตีความความหมายในการใช้บุพบท “in” ในลักษณะของการเพิ่มนัยยะการเคลื่อนที่และนัยยะของการปกปิดบดบัง การศึกษาคำบุพบทในบทความนี้เป็นการเสนอวิธีการสอน คำบุพบทภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนชาวต่างประเทศด้วยวิธีการอธิบายเป็นภาพร่างความหมายตามแนวภาษาศาสตร์ปริชานเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงลักษณะความหลากหลายความหมายและหน้าที่ทางไวยากรณ์ของคำบุพบทนั้น

Article Details

Section
Articles
Author Biography

วิไลวรรณ อรุณมานะกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิไลวรรณ อรุณมานะกุล  เป็นอาจารย์ประจำสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

References

โรว์ลิ่ง, เจ.เค. แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ. แปลโดย สุมาลี. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2543.

. แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน. แปลโดย วลีพร หวังซื่อกุล. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์, 2543.

วิไลวรรณ อรุณมานะกุล. “การศึกษาเปรียบเทียบการใช้คำบุพบทภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยและเจ้าของภาษาโดยใช้คลังข้อมูลภาษา.” Thoughts(2007): 1-31.

วิไลวรรณ อรุณมานะกุล. รายงานการวิจัย การใช้คำบุพบทในภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทย: กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. โครงการสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2547.

Brugman, Claudia. “The Story of Over.” MA thesis. U. of California at Berkeley, 1981.

Brugman, Claudia. The Story of Over: Polysemy, Semantics and the Structure of the Lexicon. New York: Garland, 1988.

Brugman, Claudia, and George Lakoff. “Cognitive Topology and Lexical Networks.” Lexical Ambiguity Resolution. Ed. S. Small, G. Cottrell, and M. Tanenhaus. Palo Alto: Morgan Kaufman, 1988. 477–507.

Celce-Murcia, Marianne, and Diane Larsen-Freeman. The Grammar Book: An ESL/EFL Teacher's Course. 2nd ed. Boston: Heinle & Heinle, 1999.

Evans, Vyvyan. A Glossary of Cognitive Linguistics. Edinburgh: Edinburgh UP, 2007.

Evans, Vyvyan, and Melanie Green. Cognitive Linguistics: An Introduction. Edinburgh: Edinburgh UP, 2006.

Johnson, Mark. The Body in the Mind: The Bodily Basis of Meaning, Imagination, and Reason. Chicago: U of Chicago P, 1987.

Lakoff, George. Women, Fire, and Dangerous Things: What Categories Reveal about the Mind. Chicago: U of Chicago P, 1987.

Langacker, Ronald. Foundations of Cognitive Grammar. Stanford: Stanford UP, 1987.

Lee, David. Cognitive Linguistics: An Introduction. Melbourne: Oxford UP, 2001.

Levin, Beth. English Verb Classes and Alternations: A Preliminary Investigation. Chicago: U of Chicago P, 1993.

Rowling, J.K. Harry Potter and the Chamber of Secrets. New York: Scholastic, 1999.

Rowling, J.K. Harry Potter and the Prisoner of Azkaban. New York: Scholastic, 1999.

Talmy, Leonard. Toward a Cognitive Semantics. Cambridge: MIT P, 2000.

Tyler, Andrea. “Applying Cognitive Linguistics to Pedagogical Grammar: The English Prepositions of Verticality.” Revista Brasileira de Linguistica Aplicada 5.2 (2005): 11-42.

Tyler, Andrea, and Vyvyan Evans. “Reconsidering Prepositional Polysemy Networks: The Case of Over.” Language 77.4 (2001): 724-765.

Tyler, Andrea, and Vyvyan Evans. The Semantics of English Prepositions: Spatial Scenes, Embodied Meaning, and Cognition. Cambridge: Cambridge UP, 2003.