บทเพลงพื้นฐานสำหรับผู้ฝึกหัดปี่ใน

Main Article Content

สุรเชษฐ์ พรมรักษ์

Abstract

การพัฒนาฝีมือจนสามารถเป็นนักปี่ที่ดีได้ จะต้องผ่านกระบวนการฝึกซ้อมหลายขั้นตอน การฝึกหัดไล่มือเป็นหลักสำคัญของผู้ฝึกหัดปี่ใน โดยใช้เพลงที่ดำเนินทำนองปี่ใน ทางโอดและทางพันเป็นหลัก อาทิ เพลงสาธุการ เพลงเหาะ เพลงรัวลาเดียว เพลงมุล่ง และเพลงเต่ากินผักบุ้ง บทเพลงดังกล่าว ช่วยให้ผู้เรียนปี่ใน สามารถนำไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม ตามทักษะของแต่ละท่าน โดยการเริ่มฝึกไล่มือจากเพลงง่ายไปหาเพลงยาก ใช้เวลาในการไล่มือจากระยะเวลาสั้นไปสู่ระยะเวลาที่นานขึ้น


Skill development until able to be Pi-Nai player. You must past rehearsal to many steps. Practicing to high performance is important of Pi-Nai learner. By pass to the melody songs such as Pleng Sa Thu Gan, Pleng Hor, Pleng Rua La Dieow, Pleng Mulong, and Pleng Tao Kin Pak Bung. The all songs help to Pi-Nai learner can be adjusted as appropriate to skills of individual. Step by step to start from simple song to difficult song and begin from little time to long time.

Article Details

How to Cite
พรมรักษ์ ส. . (2020). บทเพลงพื้นฐานสำหรับผู้ฝึกหัดปี่ใน. JOURNAL OF RATTANA PAÑÑĀ, 5(1), 259–270. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BLJOU/article/view/240069
Section
Academic Article

References

เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2542). สังคีตนิยมว่าด้วยดนตรีไทย . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ไชยวุธ โกศล. (2549). สาระและปฏิบัติการปี่ใน. สงขลา: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
บุญช่วย โสวัตร. (2525). หนังสืออนุสรณ์ ครูเทียบ คงลายทอง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
สุวัฒน์ อรรถกฤษณ์. (2552). ได้รับการถ่ายทอดเพลง. สัมภาษณ์.