Development of Work-Family Interface Inventory

ผู้แต่ง

  • อรพินทร์ ชูชม Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University
  • สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

แบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงาน, การเกื้อหนุนระหว่างครอบครัวกับงาน, ความขัดแย้งระหว่างครอบครัวกับงาน, คุณสมบัติการวัด

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงานที่มีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ ตลอดจนตรวจสอบโครงสร้างของความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูอาจารย์ ในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 466 คน เครื่องมือหลักที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงาน มีจำนวน 36 ข้อ แต่ละข้อประกอบด้วยมาตราประเมินค่า 5 ระดับ (1) ไม่จริงเลย ถึง (5) จริงที่สุด ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดมี 2 มิติที่แยกจากกันได้แก่การเกื้อหนุนระหว่างครอบครัวกับงาน และความขัดแย้งระหว่างครอบครัวกับงาน และผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพบว่าโมเดลองค์ประกอบอันดับที่ 1 ของแต่ละมิติที่ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน และโมเดลองค์ประกอบอันดับที่ 2 มี 2 องค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โครงสร้าง 6 องค์ประกอบในแต่ละมิติประกอบด้วยการรวมกันระหว่าง 2 ทิศทาง (ครอบครัวไปสู่การทำงาน และ การทำงานไปสู่ครอบครัว) และ 3 ประเภทของมิติการเกื้อหนุนระหว่างครอบครัวกับงาน: อารมณ์จิตลักษณะและพฤติกรรม 3 ประเภทของมิติความขัดแย้งระหว่างครอบครัวกับงาน: เวลา ความเครียด และพฤติกรรม แบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงานมีคุณภาพที่ดีทั้งความเชื่อถือได้ชนิดควาสอดคล้องภายใน (α = .86 - .93) ความเที่ยงตรงเชิงเอกนัย (AVE = .68 - .81) และความเที่ยงตรงเชิงจำแนก (MSV = .57 - .68) แบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงานมีหลายมิติ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ รวมทั้งใช้ทดสอบและพัฒนาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงาน

 

คำสำคัญ: แบบวัดความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับงาน, การเกื้อหนุนระหว่างครอบครัวกับงาน, ความขัดแย้งระหว่างครอบครัวกับงาน, คุณสมบัติการวัด

Downloads

References

Carlson, D. S., Kacmar, K. M., & Williams, L. J. (2000). Construction and initial validation of a multidimensional of work. Journal of Vocational Behavior. 56, 249-276.

Carlson, D. S., Kacmar, K. M., Wayne, J. H., & Grzywacz, J. G. (2006). Measuring the positive side of the work–family interface: Development and validation of a work–family enrichment scale. Journal of Vocational Behavior. 68, 131 – 164.

Choochom, O. (2016). The influence of psycho-social factors on work-family facilitation. Journal of Psychology Kasem Bundit University, 6(1), 11-23.

Choochom, O. Sucaromana, A. & Intarakamhang, U. (2010). kān wikhro̜ khwāmsamphan rawāng khrō̜pkhrūa - ngān kap khunnaphāp chīwi] [An analysis of work-family linkage and quality of life]. Warasan Phuettikammasat, 16(2), 32-49.

Crowley, S. L. & Fan, X. (1997). Structural equation modeling. In J. Shinka & G. Curtis (Eds.) Emerging Issues and Methods in Personality Assessment. (pp. 285-308). Hillsdale, NJ: Lawrence.

Edwards, J. R. & Rothbard, N. P. (2000). Mechanism linking work and family: Clarifying the relationship between work and family construct. Academy of Management Review, 25(1), 178–199.

Frone, M. R. (2003). Work-family balance. In J. C. Quick & L. E. Tetrick (Eds.). Handbook of occupational health psychology (pp. 143-162). Washington, DC: American Psychological Association.

Ghisliert, C., Martini, M., Gatti, P., & Colombo., L. (2011). The “bright side” of the work-family
interface: A brief work-family enrichment scale in a sample of health professionals. TPM-
Testing, Psychometrics, Methodology in Applied Psychology, Vol. 17(4), 211-230.

Greenhaus, J.H. & Beutell, N.J. (1985). Sources of conflict between work and family roles. Academy of Management, 10, 76 – 88.

Greenhaus, J. H. & Powell, G. N. (2006). When work and family are allies: A theory of work – family enrichment. Academy of Management Review, 31, 79–92.

Grzywacz, J, S. & Marks, N.F. (2000). Reconceptualizing the work– family interface: An ecological perspective on the correlates of positive and negative spillover between work and family. Journal of Occupational Health Psychology, 5, 111–126.

Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2010). Multivariate data analysis. Prentice-Hall:
NewYork.

Hanson, G.L. et al. (2006). Development and validation of multi dimensional scale of perceived work – family positive spillover. Journal of Occupational Health Psychology, 11(1), 249 – 265.

Hill, E.J. (2005). Work – family facilitation and conflict, working fathers and mothers, work–family stressors and support. Journal of Family Issues, 26(6), 793–819.

Kaewkiattikun, K. (2009). pati samphan rawāng ngān læ khrō̜pkhrūa khō̜ng phayābān wichāchīp [Work-family interaction of registered nurses]. Thai Human Resource Research Journal, 4(1), 13-31.

Netemeyer, R. G., Boles, J. S., & McMurrian, R. (1996). Development and validation of work-family conflict and family-work conflicts scales. Journal of Applied Psychology, 81(4). 400-410.

Wayne, J., Musisca, N., & Fleeson, W. (2004). Considering the role of personality in the work-
family experience: Relationship of the big five to work-family conflict and facilitation.
Journal of Vocational Behavior, 64, 108-130.

Vieria, J. M., Lopez, F. G., & Matos, P. M. (2014). Further validation of work-family conflict and
Work - family enrichment scales among Portuguese working parents. Journal of Career
Assessment, 22(2), 319-344.

Voydanoff, P. (2005). Work demands and work–to–family and family-to-work conflict:
Direct and indirect relationships. Journal of Family Issues, 26(6), 707–726.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-01-31

How to Cite

ชูชม อ., & เหมะประสิทธิ์ ส. (2019). Development of Work-Family Interface Inventory. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 25(1), 42–61. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/169590