การศึกษาตัวแปรความผูกพันทางศาสนาและสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ของผู้รับบริการคลินิกวัยทอง ในเขตกรุงเทพมหานคร

Authors

  • ร่มตะวัน (Romtawan) กาลพัฒน์ (Kalapat) Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok
  • อังศินันท์ (Ungsinun) อินทรกำแหง (Intrarakamhang) Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok
  • จรัล (Jarun) อุ่นฐิติวัฒน์ (Ounthitiwat) Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok

Abstract

การศึกษาตัวแปรความผูกพันทางศาสนาและสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ของผู้รับบริการคลินิกวัยทอง ในเขตกรุงเทพมหานค

บทคัดย่อ

การวิจัยสหสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ 2 ตัว (ความผูกพันทางศาสนา และมีสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัว) ที่มีต่อการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ด้านรวม ของผู้รับบริการคลินิกวัยทองในเขตกรุงเทพมหานครทั้งกลุ่มรวมและกลุ่มที่มีลักษณะชีวสังคมต่างกัน จำนวน 393 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน ใช้การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามเป็นมาตรประเมินค่าจำนวน 8 ชุด ที่มีค่าความเชื่อสัมประสิทธิ์แอลฟ่าอยู่ระหว่าง.787ถึง .922 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า ปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างความผูกพันทางศาสนา และสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัวที่มีต่อการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ด้านรวม ได้แก่ การรับรู้ภาวะวิกฤตตามความเป็นจริง

 

คำสำคัญ :  การจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์, ผู้รับบริการคลินิกวัยทอง, ความผูกพันทางศาสนา, สัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัว


Religious Commitment and Positive Family Relationship Factors Related to Emotional Crisis Coping of the Clients of Menopause Clinics in the Bangkok Metropolitan Area1

  

Abstract

The purposes of this comparative correlational research were to find the interaction effect between psychological and social factors related to emotional crisis coping. The sample of three hundred and ninety three clients of menopause clinics chosen by proportional stratified random sampling. This research consisted of eight rating-scale questionnaires which had reliability with alpha coefficients between .787 to .922 and The data was analyzed by descriptive statistics and two-way analysis of variance. The results revealed that the interaction between religious commitment and positive family relationship affected emotional crisis coping in overall and as an aspect of the realistic perception of the event.

 

Keywords : emotional crisis coping, the clients of menopause clinics, religious commitment ,positive family relationship,


Author Biographies

ร่มตะวัน (Romtawan) กาลพัฒน์ (Kalapat), Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok

thailand journal citation index centre

อังศินันท์ (Ungsinun) อินทรกำแหง (Intrarakamhang), Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว

จรัล (Jarun) อุ่นฐิติวัฒน์ (Ounthitiwat), Behavioral Science Research Institute (BSRI), Srinakharinwirot University, Bangkok

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว

Downloads

Published

2017-01-31

How to Cite

กาลพัฒน์ (Kalapat) ร. (Romtawan), อินทรกำแหง (Intrarakamhang) อ. (Ungsinun), & อุ่นฐิติวัฒน์ (Ounthitiwat) จ. (Jarun). (2017). การศึกษาตัวแปรความผูกพันทางศาสนาและสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาวะวิกฤตทางอารมณ์ของผู้รับบริการคลินิกวัยทอง ในเขตกรุงเทพมหานคร. The Periodical of Behavioral Science, 23(1), 187–204. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/76118