ตัวแปรพหุระดับในงานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ Multilevel Constructs in Behavioral Science Research

Authors

  • นำชัย (Numchai) ศุภฤกษ์ชัยสกุล (Supparerkchaisakul) Behavioral Science Institute, Srinakharinwirot University

Abstract

Multilevel research design is nowadays widely accepted and implemented in various fields of academics. Especially in behavioral science research, this design is appropriate in the aspect of integrating theories across levels. This article explained what are individual-level construct, collective construct and multilevel construct. Levels of theory, levels of measurement and levels of analysis should be aligned appropriately to the levels of construct. Understanding nature of collective constructs is crucial and will lead to construct conceptualization, choosing models of measurement, conducting construct validation and interpreting analysis results based on the nature and measurement of collective constructs.

Keywords: multilevel research, collective construct, multilevel construct

บทคัดย่อ

การวิจัยพหุระดับเป็นแบบแผนการวิจัยที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันและนำไปใช้ในหลากหลายสาขาวิชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ แบบแผนนี้มีความเหมาะสมในแง่ของการบูรณาการทฤษฎีจากระดับต่างๆ บทความนี้จะอธิบายให้เข้าใจว่าตัวแปรระดับบุคคล ตัวแปรระดับกลุ่ม และตัวแปรพหุระดับคืออะไร การกำหนดระดับของตัวแปรจะต้องมีความสอดคล้องกันระหว่างระดับทฤษฎี ระดับการวัด และระดับการวิเคราะห์ ธรรมชาติของตัวแปรระดับกลุ่มมีความสำคัญอย่างยิ่ง ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดนิยามความหมาย การเลือกแบบจำลองการวัด การตรวจสอบคุณภาพการวัด และการแปลผลการวิเคราะห์ที่นำธรรมชาติและวิธีการวัดตัวแปรระดับกลุ่มมาร่วมพิจารณาด้วย

คำสำคัญ:   การวิจัยพหุระดับ ตัวแปรระดับกลุ่ม ตัวแปรพหุระดับ 

Author Biography

นำชัย (Numchai) ศุภฤกษ์ชัยสกุล (Supparerkchaisakul), Behavioral Science Institute, Srinakharinwirot University

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว

Downloads

Published

2017-01-31

How to Cite

ศุภฤกษ์ชัยสกุล (Supparerkchaisakul) น. (Numchai). (2017). ตัวแปรพหุระดับในงานวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ Multilevel Constructs in Behavioral Science Research. The Periodical of Behavioral Science, 23(1), 239–260. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/76162