แนวทางการนำผลการวัดความถนัดทางการเรียนมาใช้ในการวางแผนอาชีพ
คำสำคัญ:
ความถนัดทางการเรียน, การวางแผนอาชีพบทคัดย่อ
ทฤษฎีความสามารถทางปัญญาขั้นพื้นฐาน 7 ด้านของ Louis Thurston ถูกนำมาประยุกต์และพัฒนาเป็นแบบวัดความถนัดทางทางการเรียน 7 ด้าน ซึ่งผลการวัดสามารถเชื่อมโยงเข้ากับ 6 กลุ่มอาชีพ ตามทฤษฎีบุคลิกภาพทางอาชีพและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของ John Holland ประกอบด้วย (1) ด้านภาษาและด้านความคล่องแคล่วในการใช้คำกับกลุ่มอาชีพศิลปะ อาชีพที่น่าสนใจคือ จิตรกร นักดนตรี นักออกแบบ นักเขียน นักแต่งเพลง นักแปล (2) ด้านตัวเลขกับกลุ่มอาชีพคิดวิเคราะห์ อาชีพที่น่าสนใจคือ นักวิจัย หมอ นักวิทยาศาสตร์ นักคณิตศาสตร์ (3) ด้านเหตุผลกับกลุ่มอาชีพนิยมความจริง อาชีพที่น่าสนใจคือ ช่าง/วิศวกร เกษตรกร นักกีฬา พ่อครัว นักสำรวจ (4) ด้านมิติสัมพันธ์กับกลุ่มอาชีพธุรกิจ อาชีพที่น่าสนใจคือ เจ้าของกิจการ นักขาย นักธุรกิจ ผู้จัดการโรงแรม นักการตลาด นักโฆษณา เจ้าของธุรกิจออนไลน์ (5) ด้านการรับรู้กับกลุ่มอาชีพประเพณีนิยม อาชีพที่น่าสนใจคือ พนักงานธนาคาร นักการเงิน นักบัญชี เลขานุการ บรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่พิสูจน์อักษร และ (6) ด้านความจำกับกลุ่มอาชีพสังคม อาชีพที่น่าสนใจคือ ครู ติวเตอร์ นักสังคมสงเคราะห์ พยาบาล นักแนะแนว ผู้ให้การปรึกษา การประยุกต์ใช้ 2 ทฤษฎีร่วมกัน จะทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ทำให้เห็นแนวทางในการนำข้อมูลจากการวัดความถนัดทางการเรียนมาใช้ในการวางแผนเลือกอาชีพของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น
References
Bingham, Walter V.D. (1937). Aptitude and Aptitude testing. New York: Harper and Brpthers.
Chartrand, J. M. (1991). The evolution of trait-and-factor career counseling: a person x environment fit approach. Journal of Counseling and Development, 69, 518-524.
Cronbach, L. J. (1963). Educational Psychology. New York: Harcourt Brace and World.
Ginzberg, E. (1966). The Development of Human Resources. New York: McGraw-Hill.
Gottfredson, G. D., & Holland, J. L. (1996). Dictionary of Holland Occupational Codes (3 ed.): Psychological Assessment Resources, Inc.
Gregory, R. J. (2011). Psychological testing: History, principles, and applications. Illinois: Allyn and Bacon.
Holland, J. L. (1985). Making Vocational Choices (2 ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Holland, J. L. (1996). Exploring Careers with a Typology. American Psychologist, 51(4), 397-406.
Isaacson, E. L., & Brown, D. (1993). Career information, career counseling, and career development. Boston: Allyn & Bacon.
Kaplan, R. M., & Saccuzzo, D. P. (2013). Psychological Assessment And Theory: Creating And Using Phychological Tests. Belmont, California: Wadsworth Centage Learning.
Nauta, M. M. (2010). The development, evolution, and status of Holland’s theory of vocational personalities: Reflections and future directions for counseling psychology. Journal of Counseling Psychology, 57(1), 11-22. doi:10.1037/a0018213
Niles, S. G., & Hutchison, B. (2009). Theories of career development to inform advising The handbook of career advising (pp. 68-96). San Francisco: Jossey-Bass.
PAR. (2019). The hexagonal model: Matching personalities to occupations. Retrieved from http://www.self-directed-search.com/How-does-it-work/riasec-theory
Patton, W., & McMahon, M. (2014). Career development and systems theory: a new relationship (3 ed.). Rotterdam: Sense Publishers.
Schmidt, J. J. (1996). Counseling in schools : essential services and comprehensive programs. Boston: Allyn & Bacon.
Sharf, R. S. (2010). Applying career development theory to counseling. Sedofia Brooks/Cole: Cengage Learning.
Skorikov, V. (2007). Continuity in adolescent career preparation and its effects on adjustment. Journal of Vocational Behavior, 70(8-24). doi:10.1016/j.jvb.2006.04.007
Thurstone, L.L. (1982). Attitude theory and measurement. New York: Harcourt brace and world.
กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน. (2560). ระบบส่งเสริมการมีงานทำ. Retrieved 15 ตุลาคม, 2561, from http://employmentguide.doe.go.th/
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. Retrieved from http://www.psc.ac.th/docs/laws/education_core2551.pdf
กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการนิเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). การจัดรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางอาชีพในหลักสูตรสถานศึกษา. Retrieved from http://academic.obec.go.th/missiondetail.php?id=20
จิรายุส สมานมิตร. (2558). การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 12(1), 109-121.
ชวาล แพรัตกุล. (2526). การวัดความถนัดทางการเรียน. วารสารการวัดผลการศึกษา, 5(1), 1-12.
ชอบ ลีซอ. (2540). ลักษณะของแบบทดสอบความถนัดทางการเรียน. วารสารการวัดผลการศึกษา, 19(55), 6-11.
ชาญวิทย์ เทียมบุญประเสริฐ. (2550). การวัดความถนัดทางการเรียน. มศว โลกทัศน์, 3(2), 44-47.
ณัฐพล แจ้งอักษร. (2553). ความต้องการและปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อสายอาชีวศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3: การวิเคราะห์จำแนก. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นรินธรณ์ กัลยาวงศ์, ฟุ้งศรี ภักดีสุวรรณ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันอาชีวศึกษาของนักศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในเขตจังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 14(65), 153-161.
พจน์ สะเพียรชัย. (2512). การวิจัยองค์ประกอบของแบบทดสอบความถนัดทางการเรียนสำหรับชั้นประถมปีที่ 7.พระนคร: โครงการวิจัยการเลือกสรร วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร.
พนม พงษ์ไพบูลย์. (2543). การประเมินคุณภาพการศึกษา. สรุปคำบรรยายพิเศษ โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาด้านความถนัด (SAT) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2543 กรมวิชาการ ณ โรงแรมธารินทร์ จ.เชียงใหม่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2543. http://www.moe.go.th/moe/th/cms_group/detail.php?NewsID=123&Key=aca_article
ภาณุวัฒน์ สมนึก, ชนม์ชกรณ์ วรอินทร์, ธีรยุทธ ภูเขา. (2558). โมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 9(2), 51-66.
วรัญญา รุมแสง. (2561). การพัฒนาแบบวัดความสนใจ ความสามารถ และบุคลิกภาพทางอาชีพ เพื่อการวางแผนศึกษาต่อและอาชีพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2549). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริลักษณ์ ศุภปีติพร, ชลาลัย แต้ศิลปสาธิต, ณภัควรรต บัวทอง. (2560). ภาวะซึมเศร้าและอิทธิพลของครอบครัวต่อการเลือกอาชีพของบุคคลที่สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 62(1), 35-46.
ศุภมาส เจือกโว้น. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกอาชีพนักวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สดสี สุทธิศักดิ์, วารุณี ลัภนโชคดี, บุญเรียง ขจรศิลป์. (2559). การพัฒนาแบบวัดความถนัดทางการเรียนวิทยาศาสตร์การกีฬา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(3), 143-157.
สุภลักษณ์ สีสุกอง, พิชญสินี กิจวัฒนาถาวร, ธรา อั่งสกุล, จิติมนต์ อั่งสกุล. (2561). ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกกลุ่มวิชา โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 12(1), 49-66.
อดิเรก นวลศรี, ณิชาภา ยศุตมธาดา, Heng, W. (2560). ปัจจัยในการเลือกอาชีพของนักศึกษา หลักสูตร
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2555). วารสารช่อพะยอม, 28(1), 115-123.