การประเมินอภิมาน และการประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินอภิมาน

ผู้แต่ง

  • สุวิชญา สิริยานนท์ สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • รุ่งฤดี กล้าหาญ สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การประเมินอภิมาน

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินอภิมาน และการประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินอภิมาน
การประเมินอภิมานเป็นเครื่องมือในการพิจารณาตัดสินคุณภาพของการประเมิน สำหรับประเทศไทยทำการประเมิน   อภิมานค่อนข้างน้อย ทำให้มีรายงานการประเมินอภิมานไม่มากนัก การประเมินอภิมานมีประโยชน์ต่อนักประเมิน ทำให้สามารถตรวจสอบคุณภาพของการประเมินตามมาตรฐานของการประเมินอภิมาน ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานด้านอรรถประโยชน์ มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ มาตรฐานด้านความเหมาะสม มาตรฐานด้านความถูกต้อง และมาตรฐานด้านความรับผิดชอบ ผลการประเมินสามารถนำไปพัฒนาการประเมินให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งทำให้ทราบถึงจุดเด่นและจุดด้อยของการประเมิน

References

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2555). การประเมินผลนโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.

พรรณิภา ภูกองพลอย, ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ, และ วราพร เอราวรรณ์. (2561). มโนทัศน์เบื้องต้นของการประเมินอภิมาน. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 24 (1). 3-13.

พินดา วราสุนันท์. (2556). ย้อนรอยการประเมินสู่มุมมองการประเมินในอนาคต. วารสารการวัดผลการศึกษา. 30 (88). 12-27.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการประเมิน (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งกรุงเทพฯ.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2559). วิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษาแห่งคุณค่า (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิชญา สิริยานนท์. (2562). การประเมินอภิมานและการสังเคราะห์อภิมานรายงานการประเมินโครงการการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cook, T. D., & Gruder, C. L. (1978). Meta-evaluation research in Evaluation Quarterly. 2 (1978). 5-51.

Gallegos, A. (1994). Meta-evaluation of school evaluation model. Studies in Educational Evaluation. 20. 41-54.

Patton, M. Q. (1997). Utilization-Focused Evaluation. The New Century Text. 3rd. ed. Thousand Oaks, Sage.

Scriven, M. (1969). An Introduction to Meta-Evaluation. Educ Prod Rep

Scriven, M. (1991). Evaluation Thesaurus. 4th. London: Sage Publications.

Scriven, M. (2005). The logic and Methodology of Checklist. Retrieved July 24, 2020 from www.wmich.edu/evalctr/checklists/

Scriven, M. (2007). Key evaluation checklists. Retrieved July 24, 2020 from www.wmich.edu/evalctr/checklists/

Scriven, M. (2015). KEY EVALUATION CHECKLIST (KEC). Retrieved July 24, 2020 from http://michaelscriven.info/home.html

Stufflebeam, D. L. (2001). The Metaevaluation Imperative. American Journal of Evaluation. 22 (2). 183-209. Retrieved July 24, 2020 from http://aje.sagepub.com/cgi/content/abstract/22/2/183

Stufflebeam, D. L., Madaus, G. F. & Kellaghan, T. (2000). Evaluation models. Boston: Kluwer Academic.

Stufflebeam, D. L., & Social Impact. (2012). Program evaluations metaevaluation checklist (Based on The Program Evaluation Standards). Retrieved July 24, 2020 from http://pdf.usaid.gov/pdf_docs/pnady797.pdf

Yarbrough, D. B., Shulha, L. M., Hopson, R. K., & Caruthers, F. A. (2011). The program evaluation standards: A guide for evaluators and evaluation users (3rd ed). Thousand Oaks, CA: Sage.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-10