การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิชาเศรษฐศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐาน

ผู้แต่ง

  • กัณปรียาวี มุ่นเชย วิทยาลัยปรัชญาและการศึกษา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
  • ชุติมา วัฒนะคีรี วิทยาลัยปรัชญาและการศึกษา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
  • สุดาพร พงษ์พิษณุ วิทยาลัยปรัชญาและการศึกษา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐาน, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, การคิดอย่างมีวิจารณญาณ, ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 2) เพื่อศึกษาผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 35 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างสุ่มแบบกลุ่มมีห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่มเพื่อใช้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบทดสอบวัดผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นแบบปรนัย ชนิดตัวเลือก 4 ตัวเลือก 4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่าความเชื่อมั่น, ทดสอบ T- test for Dependent Sample และทดสอบค่า T (One Sample t-test)

            ผลวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐานที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐานเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขันด้วยเกมร่วมกับการใช้สมองเป็นฐานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. ชุมนุมสหการณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2554). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. องค์การรังส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

กฤษดา มาสพรพัฒน์. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้เกมประกอบการสอนสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ เรื่ององค์กรที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราษฎร์นิยม. วิจัยในชั้นเรียน. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ธิติพันธ์ คดชาคร. (2554). ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษาและความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคกลุ่มเกมแข่งขัน (TGT) กับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มสัมพันธ์ [ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนคนินทรวิโรฒ].

ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 14). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 21). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นิลแก้ว. (2545). การอ้างอิงกลุ่มประชากรเมื่อใช้เครื่องมือแบบมาตราส่วนประมาณค่ากับกลุ่มตัวอย่าง. วารสารการวัดผลการศึกษา มศว มหาสารคาม, 3(1), 22-25.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). สุวีริยาสาสน์.

ปวีณา วิชนี และเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยา เรื่องอาณาจักรของ สิ่งมีชีวิตด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) ร่วมกับการใช้เทคนิคเกม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. Veridian e-journal, 8(2), 450-463.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2549). แนวทางการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ บทบาทครูกับการวิจัยในชั้นเรียน. พริกหวานกราฟฟิค.

พร้อมพรรณ อุดมสิน. (2548). การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.

วัลภา ฉิมพาลี. (2552). รายการใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การบวก การลบ การคูณทศนิยม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. โรงเรียนอนุบาลตราด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด.

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2553). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Back ward Design. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสารคาม

ศันศนีย์ ฉัตรคุปต์ และอุษา ชูชาติ (2544). รายงานเรื่องฝึกสมองให้คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2554). วีธีสอนตามแนวปฎิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุทธิรัตน์ ธีรวิวัฒน์ (2547). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่องสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่สอนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ด้วยเทคนิคโคออฟ – โคออฟ (Co-op Co-op) ร่วมกับเทคนิคกลุ่มสืบเสาะความรู้ (GI) และวิธีสอนตามคู่มือครู [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). ชมรมเด็ก.

สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ (2560). 19 วิธีการจัดการเรียนรู้: เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ (พิมพ์ครั้งที่ 10). ภาพพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2558). แผนพัฒนาศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551: ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

อังสนา ศรีสวนแตง. (2555). การพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่อง โจทย์ปัญหาระคนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) ร่วมกับเทคนิค KWDL [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

อารยา ช่ออังชัญ. (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณกลุ่มสาระการเรีนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

อรพิณ พัฒนผล. (2555). การพัฒนาแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1 [ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

Bloom (1976). Human Characteristics and school learning. (5th ed.). Kingsport press.

Caine and Caine (1989). Brain based Learning: BBL. Accessed February 22, 2012. https://krusame.wordpress.com.

Caine, G.,and R.N.,Caine. (1990). Understanding a Brain – Baesd Approach to learning and Teaching. Educational leadership, 48(2), 66-70.

Good Carter V. (1973). Dictionary of Education (3rd ed.). McGraw-Hill.

Guilford, J.P. (1967). The Nature of Human Intelligence. McGraw-Hill.

Jensen (2000). Brain – Based Learning. The Brain Store Publishing.

Johnson, D. W., & Johnson, R.T. (1989). Learning together and alone. Allyn and bacon.

Johnson, D. W., & Johnson, R.T. (1999). Making cooperative learning work. Theory into practice. Building

Slavin, R.E. (1998). Cooperative learning: theory, research and practices (2nd ed.). a simon & Schuster company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-05