การพัฒนาเครื่องมือวัดทักษะการทำงานเป็นทีมของครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ผู้แต่ง

  • ธีรวัฒน์ ศรีบุรมย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กนิษฐ์ ศรีเคลือบ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

เครื่องมือวัด, ทักษะการทำงานเป็นทีม, ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดทักษะการทำงานเป็นทีมของครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เครื่องมือที่ใช้เป็นเครื่องมือวัดทักษะการทำงานเป็นทีมของครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นแบบสอบถามมีลักษณะ เป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ตัวอย่างวิจัยเป็นครูจำนวน 350 คน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างตามความสะดวก (convenience sampling) จากการเก็บข้อมูลแบบออนไลน์และฉบับกระดาษ ผลการวิจัยพบว่า เครื่องมือวัดทักษะการทำงานเป็นทีม PLC ของครูที่พัฒนาขึ้นมีความตรงเชิงเนื้อหา (IOC, .67-1.00) ความเที่ยง (Cronbach’s alpha coefficient, .845 - .881) และความตรงเชิงโครงสร้าง (gif.latex?x^{2} (5, N=350)=3.495, p=.624, RMSEA=.000, SRMR=.004)

References

กฤตย์ ไชยวงศ์. (2561). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารการวัดผลการศึกษา, 35(98), 107-118.

โกศล เย็นสุขใจชน. (2022). การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของ ครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10. วารสารวิชาการ ครุศาสตร์ สวนสุนันทา, 6(2), 62-70.

ชัยวัฒน์ สมเกียรติประยูร, ชนมณี ศิลานุกิจ, รัตนา กาญจนพันธ์ และอำนวย ทองโปร่ง. (2562). การมีส่วนร่วมของครูในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วารสารการวัดผล การศึกษา, 35(97), 62-77.

ชาริณี ตรีวรัญญู. (2560). การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพด้วยการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน: แนวคิดสู่ความสำเร็จ. วารสารครุศาสตร์, 45(1), 299-319.

นวนละออง สีดา, พจนีย์ มั่งคั่ง และกัญภร เอี่ยมพญา. (2565). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร, 19(86), 8-22.

เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2559). ทีมงาน (Teamwork): พลังที่สร้างความสำเร็จ. โอเดียนสโตร์.

พรรณทิภาภรณ์ อภิปริญญา และจุไรรัตน์ สุดรุ่ง. (2562). สภาพและปัญหาของการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และเขต 2 กรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 14(2), OJED1402047 (1402012 pages).

http://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/193342

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม Classical test theory (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริปรีญา ใจบุญมา. (2562). การพัฒนาเครื่องมือสำหรับการวัดการปฏิบัติของครูในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Respository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/ 123456789/63378

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สุวิมล ว่องวาณิช. (25 สิงหาคม 2561). การส่งเสริมกระบวนการ PLC ให้มีประสิทธิผล. การประชุมทางวิชาการคุรุสภา ประจำปี 2561 เรื่อง "ชุนชุนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ: พลังขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาไทย", กรุงเทพมหานคร.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 4). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Charteris, J., Berman, J., & Page, A. (2021). Virtual team professional learning and development for practitioners in education [Article]. Professional Development in Education. https://doi.org/10.1080/19415257.2021.1879215

DuFour, R. (2004). What is a" professional learning community"? Educational leadership, 61(8), 6-11.

DuFour, R., & Eaker, R. (2009). Professional learning communities at work tm: best practices for enhancing students achievement. Solution Tree Press.

DuFour, R., & Fullan, M. (2013). Cultures built to last: Systemic PLCs at work TM. Solution Tree Press.

Friedric, R. (2017). The Virtual Team Maturity Model https://doi.org/10.1007/978-3-658-19771-1

Hairon, S., & Tan, C. (2017). Professional learning communities in Singapore and Shanghai: implications for teacher collaboration. Compare: A Journal of Comparative and International Education, 47(1), 91-104. https://doi.org/10.1080/03057925.2016.1153408

Herrenkohl, R. C. (2003). Becoming a team: Achieving a goal. Recording for the Blind & Dyslexic.

Prenger, R., Poortman, C. L., & Handelzalts, A. (2017). Factors influencing teachers’ professional development in networked professional learning communities [Article]. Teaching and Teacher Education, 68, 77-90. https://doi.org/10.1016/ j.tate.2017.08.014

Reeves, S., Xyrichis, A., & Zwarenstein, M. (2018). Teamwork, collaboration, coordination, and networking: Why we need to distinguish between different types of interprofessional practice. Journal of Interprofessional Care, 32(1), 1-3. https://doi.org/10.1080/13561820.2017.1400150

Sergiovanni, T. J. (1994). Building community in schools. Jossey-Bass.

Soper, D.S. (2022). A-priori Sample Size Calculator for Structural Equation Models [Software]. Available from https://www.danielsoper.com/statcalc

Stoll, L., Bolam, R., McMahon, A., Wallace, M., & Thomas, S. (2006). Professional learning communities: A review of the literature. Journal of Educational Change, 7(4), 221-258.

Tan, C. K., T, R., Teoh, A. P., & Cheah, J.-H. (2019). Factors influencing virtual team performance in Malaysia. Kybernetes, 48(9), 2065-2092. https://doi.org/10.1108/K-01-2018-0031

Valentine, M. A., Nembhard, I. M., & Edmondson, A. C. (2015). Measuring Teamwork in Health Care Settings. Medical Care, 53(4), 16-30.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30