ภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยของผู้นำนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ธีรวัฒน์ เลื่อนฤทธิ์ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • โกศล มีคุณ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตย, ผู้นำนักเรียน

บทคัดย่อ

            ประเทศที่พัฒนาแล้วจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์ในประเทศ  เนื่องจากว่าหากคนในประเทศมีคุณภาพแล้วจะสามารถทำประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้อย่างมหาศาล และสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศร่วมกันให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ จึงมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น การพัฒนาภาวะผู้นำ โดยเฉพาะการพัฒนาภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยของผู้นำนักเรียนที่จะเป็นรากฐานสำคัญของประเทศ เพราะผู้นำนักเรียนที่เป็นเด็กและเยาวชนดังกล่าวที่เป็นคณะกรรมการนักเรียน หัวหน้าคณะสี หัวหน้าชมรม/ชุมนุม/กิจกรรม และหัวหน้าชั้นเรียน ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเป็นพลังในในการขับเคลื่อนเพื่อนนักเรียนคนอื่น ๆ ต่อไป จึงเป็นการสร้างเยาวชนที่ดีที่จะเป็นพลังสำคัญของชาติต่อไปในอนาคต ภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 1) การเคารพตนเอง ผู้อื่น และสังคม 2) ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม 3) การไม่ถือตนเป็นใหญ่ใช้เหตุผลในการทำงาน และ 4) การมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม

 

References

กระทรวงแรงงาน. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศสิงคโปร์. https://singapore.mol.go.th/news/การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2565). การสร้างภาวะผู้นำ. https://bsc.dip.go.th/th/category/hr2/fs-leadership.

จุฑารัตน์ วิบูลผล, ชาตรี ฝ่ายคำตา, นิภาพร กุลสมบูรณ์ และปรินทร์จิระภัทรศิลป. (2564). รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ในต่างประเทศที่จัด การศึกษาอย่างมีคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 1). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรรยา ไกรจันทร์. (2555). รูปแบบและประเภทของผู้นำ. https://www.gotoknow.org/posts/450297

ชูชีพ ประทุมเวียง. (2547). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมประชาธิปไตย สำหรับนักศึกษาสถาบันราชภัฏ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

ฐิติวรดา พลเยี่ยม. (2560). การพัฒนาหลักสูตรที่สงเสริมความเป็นประชาธิปไตย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม].

ณัฐณภรณ์ เอกนราจินดาวัฒน์. (2560). ภาวะผู้นำทางการบริหารการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.

ดวงเดือน ศาสตรภัทร และคณะ. (2547). รายงานการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาจิตสำนึกประชาธิปไตยในเยาวชนไทย” (พิมพ์ครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทวีวัฒน์ บุญชิต. (2546). รายงานวิจัย โครงการวิจัยแม่บท: การวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. (2556). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 2). สถาบันนโยบายศึกษา.

ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2556). รายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต” (พิมพ์ครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

นันทนา ประสาทพร. (2557). การพัฒนาแบบวัดพฤติกรรมตามวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในเขตภัฏ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education) (พิมพ์ครั้งที่ 1). นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์.

ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563). 8 รูปแบบของการเป็นผู้นำ คุณเป็นแบบไหน. https://www.popticles.com/business/8-types-ofleadership/

วสพร บุญสุข. (2565). การบริหารรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะดานความรับผิดชอบและความเคารพนับถือของนักเรียนอาชีวศึกษาทวิภาคีโดยการบริหารแบบมีส่วน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยพะเยา].

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). นวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้สู่ความเป็นพลเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 1). บริษัท อาร์ แอนด์ ปริ้นท์ จำกัด.

วิโรจน์ อารีย์กุล. (2553). การดูแลสุขภาพและการให้คำแนะนำวัยรุ่น (พิมพ์ครั้งที่ 1). กองกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และภาควิชาเวชศาสตร์ทหาร และชุมชนวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า.

วัลยภรณ์ แดงเกิด. (2555). การศึกษาพฤติกรรมประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ที่ผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบ 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

รภัสศา พิมพา. (2557). ภาวะผู้นำของนิสิตครูหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5 ปี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบัณฑิตวิทยาลัย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2550). มนุษย์สัมพันธ์: พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

ศิริพร ดวงศรี, วันทนา อมตาริยกุล และพงษ์นิมิต พงษ์ภิญโญ. (2562). การพัฒนาภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดร เขต 3. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 5(2), 192-200.

สวัสดิ์ ประทุมราช. (2554). การให้การศึกษาเพื่อสร้างอัตลักษณ์ แปลจาก Educating for Character: How Our Schools Can Teach Respect and Responsibility By THOMAS LICKONA (พิมพ์ครั้งที่ 1). ประชาอุทิศพิมพ์.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). ภาวะผู้นำ, ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 5-8 (พิมพ์ครั้งที่ 9). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. (2555). วิถีประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2565). สถานภาพและการจัดอันดับตัวชี้วัด ระดับสากล (ดัชนีการพัฒนามนุษย์, HDI). https://www.etda.or.th/th/Our-Service/statistics-and-information/dashboardsummary.aspx?index=14

อาทิชล จันทร์หอม. (2560). ภาวะผู้นําแบบประชาธิปไตยของนิสิตระดับปริญญาตรี หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.

ปี) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตามแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี. [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ].

Bass, B. M. (2004). Leadership and performance beyond expectation. The Free Press.

Bennis, W. and Townsend, R. (2008). Reinvention leadership: Strategies to empower the organization. William Morrow.

Daft, R. L. (2008). The leadership experience (4th ed.). Thomson Southwestern.

Hursh, D. and Ross, E. W. (2000). Democracy Evaluation: Democratic Social Education. Falmer.

Lewin K. and Gold M. E. (1999). The dynamic of Group action. Educational Leadership Review.

Sulaiman, M. (2006). Developing and Validating Instruments for Measuring Democratic Climate of the Civic Education Classroom and Student Engagement in North Sulawesi, Indonesia. International Education Journal, 7(4), 580-597.

Tichi, N. M. and Cohan, M. (2007). The transformational leader. Training and Development Journal, 40(7), 35-40.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30